ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ปี 2567

เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสู่ภาคใต้แห่งความสุข22 เมษายน 2567
22
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Ariya Mosu
circle
วัตถุประสงค์

1.เพื่อทบทวนเส้นทาง กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะผ่านเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญ 2. เพื่อสร้างความเข้าใจ รับรู้สถานการณ์สำคัญร่วมของภาคและนำไปสู่การวางเป้าหมายใหญ่ร่วมในการเคลื่อนงานทั้งระบบ 3. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์การทำงานของหน่วยงานภาคียุทธศ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ 22 เมษายน 2567 12.30-13.00 ลงทะเบียนรับเอกสาร 13.00-13.30 กล่าวต้อนรับโดย นายไมตรี จงไกรจักร กรรมการสุขภาพแห่งชาติ เปิดการประชุมและทิศทางสำคัญในการขับเคลื่อนนโนบายสาธารณะ โดยนายแพทย์สุเทพ เพชรมาก 13.330-14.00 Ice breakinh "รู้จักตนเอง รู้จักเพื่อน" รู้ใจ เห็นเส้นทางเพื่อนภาคีในงานพัฒนา 14.00-15.00 ต้นทุนและพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะของภาคใต้ โดยนายจารึก ไชยรักษ์ กระบวนการทบทวนเส้นทางพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ " ทบทวน 4 PWของแต่ละจังหวัด" 15.00-16.00 กลุ่มย่อยวิเคราะห์สถานการณ์สำคัญ เครือข่าย คน กลไก แผนงานสำคัญที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่/จังหวัด(หาประเด็นร่วม เห็นคน/เครือข่าย ข้อเสนอที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่) แบ่งตามภูมินิเวศน์ โดยใช้ประเด็นร่วมจากสร้างสุขภาคใต้ ได้แก่ 1. ด้านเกษตรสุขภาพ อาหารปลอดภัย สารเคมี 2. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ด้านสุขภาวะกลุ่มช่วงวัย ระบบสังคมผู้สูงวัย 16.00-18.00 นำเสนอกลุ่มย่อยตามภูมินิเวศน์ 18.00-20.30 กิจกรรมสานสัมพันธ์ ภาคีเครือข่าย
วันที่ 23 เมษายน 2567 08.30-09.00 ทบทวนกระบวนการและเนื้อหา 09.00-10.30 Policy Forum แลอนาคต สถานการณ์และทิศทางการพัฒนานโยบายสาธารณะสู่ภาคใต้แห่งความสุข 10.30-11.45 เป้าหมาย แนวทาง แผนงานสำคัญและการจัดกลไกในจังหวัดเติมเต็ม ให้ความเห็นโดยผู้แทนภาคีพัฒนา เป้าหมายจังหวะก้าวและงานสำคัญ อย่างไรทิศทางข้างหน้าร่วมกัน 11.45-12.30 สรุปเป้าหมายร่วมและแนวทางการขับเคลื่อนร่วมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปแนวทางการดำเนินงานกัน และเป้าหมายร่วมของการสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ สู่ภาคใต้แห่งความสุข ได้แก่ 1. คน ทีมคณะทำงาน : ต้องมีการเสริมพลังคนทำงาน สร้างคนรุ่นใหม่
2. กระบวนการระดับจังหวัด : มีกระบวนการทำนโยบายสาธารณะที่หลากหลาย ยืดหยุ่น เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ 3. ภาคีร่วม : มีการทำงานร่วมกันของภาคีต่างๆ ในพื้นที่กลางของจังหวัด
4. มีการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
5. มีระบบฐานข้อมูลกลาง ที่รวบรวมข้อมูลการทำงาน ข้อมูลภาคีเครือข่าย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย

1.เครือข่ายสมัชาสุขภาพ 14 จังหวัด 2.กรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 11 และ 12 3.กรรมการสุขภาพแห่งชาติ เขต11 และ 12 4.ผู้แทนองค์กรหน่วยงานภาคียุทธศาสตร์ สถาบันการศึกษาที่ร่วมทำงานด้วย เช่น สธ. พอช. สสส. สปสช. สำนักงานพัฒนาสภาเศรษฐกิจและสังคมภาค กรรมการสิทธิมนุษยชน 5.เจ้าหน้าที่สช.

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่