directions_run

โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00 95.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น
70.00 90.00

ครัวเรือนต้นแบบ

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้
70.00 95.00

ตารางเรียน ตารางสอน

4 เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น
80.00 95.00

ผลการเรียน

5 เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : มีการขยายผลไปสู่หมู่บ้าน/ชุมชน
70.00 90.00

ครัวเรือนต้นแบบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน 55

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร (4) เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ (5) เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการเพาะชำต้นไม้ (2) กิจกรรมตลาดนัดนักเรียนร่วมกับชุมชน (3) กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก (4) กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก (5) กิจกรรมการเพาะเห็ด (6) จัดทำแปลงเกษตรและปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh