directions_run

โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00 95.00

นักเรียนร้อยละ 95 ได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น

นักเรีมีภาวะโภชนาการสมวัยยน

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น
70.00 90.00

นักเรียนร้อยละ 95 สามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น

ครอบครัวนักเรียนมีการปลูกผักกินเอง

ครัวเรือนต้นแบบ

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้
70.00 95.00

นักเรียนร้อยละ 95 สามารถบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้

มีหลักสูตรในทุกกลุ่มสาระ สอนเรื่องการเกษตรปลอดภัย

ตารางเรียน ตารางสอน

4 เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น
80.00 95.00

นักเรียนร้อยละ 95 มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น

ความรู้ ทักษะการเรียนของนักเรียนดีขึ้น

ผลการเรียน

5 เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : มีการขยายผลไปสู่หมู่บ้าน/ชุมชน
70.00 90.00

มีการขยายผลไปสู่หมู่บ้านและชุมชน

ครอบครัวนักเรียนและชุมชนมีการปลูกผักกินเอง ลดการซื้อจากตลาด

ครัวเรือนต้นแบบ