การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดปัตตานี

การประชุมพัฒนาโครงการฉบับบย่อประเด็นอาหารและโภชนาการ ต.ทรายขาว30 พฤษภาคม 2567
30
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yadaporn Yimkaew
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผลการสำรวจสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของครัวเรือน
ในพื้นที่ ตำบล ทรายขาว อำเภอ โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (n = 207) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 26 12.6 หญิง 108 87.0 อายุ (ปี) (mean+SD) 51.2+12.1 ระดับการศึกษา ไม่ได้ศึกษา 1 0.5 ประถมศึกษา 47 22.7 มัธยมศึกษา/ปวช. 100 48.3 อนุปริญญา/ปวส. 19 9.2 ปริญญาตรี 37 17.9 สูงกว่าปริญญาตรี 3 1.4 รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือน
น้อยกว่า 5000 บาท 62 30.1 5001 – 10000 บาท 71 34.5 10001 – 15000 บาท 33 16.0 15001 – 20000 บาท 20 9.7 20001 – 25000 บาท 4 1.9 25001 – 30000 บาท 5 2.4 มากกว่า 30000 บาท 11 5.3 จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน)  (mean+SD) 3.9+1.8 อาชีพ รับจ้าง 46 22.2 รับราชการ 12 5.8 เกษตรกรรม 89 43.0 ประมง 1 0.5 ธุรกิจส่วนตัว 11 5.3 ประกอบอาชีพมากกว่า 1 อาชีพ 17 8.2 อื่น ๆ 30 14.5

วิธีการได้มาซึ่งอาหารของครัวเรือน
ตารางที่ 2 รูปแบบการได้มาซึ่งอาหารในครัวเรือน (n = 201) รูปแบบการได้มาซึ่งอาหาร จำนวนครัวเรือน (ร้อยละ) หมายเหตุ ผลิตอาหารเอง 127(63.2) เหตุผลที่ไม่ได้ผลิตอาหารเอง 1.ไม่มีปัจจัยการผลิต ร้อยละ 67.5 2.ไม่มีองค์ความรู้ ร้อยละ 42.0 3.ดิน น้ำไม่เหมาะกับการผลิต  ร้อยละ 15.4 รูปแบบการเกษตร 1. แบบอินทรีย์  ร้อยละ 23.6 2.แบบปลอดภัย ร้อยละ 19.3 3.แบบอื่น ๆ  ร้อยละ 56.4 - การเพาะปลูก 143 (92.9)
- ปศุสัตว์ 28 (21.2)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด 12 (5.8)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม 0 (0)
ความพอเพียงของอาหารที่ผลิตในครัวเรือน
- พอเพียง 117 (74.1)
- ไม่พอ 41 (25.9)
หาจากธรรมชาติ 76 (39.6) หาจากแหล่ง ….


  สถานการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ตารางที่ 3 ร้อยละของครัวเรือนจำแนกตามระดับความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นใน 1 เดือนที่ผ่านมา (n = ) เหตุการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร ไม่เคยเกิดขึ้น น้อยครั้ง (1-2 ครั้ง) บางครั้ง (3-10 ครั้ง) บ่อยมาก (>10ครั้ง) เฉลี่ยคะแนน 1 ท่านกังวล ว่าจะไม่มีเงินซื้ออาหารกินอย่างเพียงพอ 47.5 25.0 25.5 2.0 2.0+0.9 2 ท่านไม่สามารถหาอาหารที่ครบ 5 หมู่ (ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน/ไขมัน) เพียงพอสำหรับการบริโภคเพราะมีเงินหรือทรัพยากรไม่พอ 49.8 26.8 18.5 4.9 2.0+0.9 3 ท่านกินอาหารเพียงไม่กี่ชนิด (มีกิน แต่กินซ้ำๆ เดิม ๆ ไม่มีคุณภาพ) เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 54.4 28.2 13.6 3.9 1.0+0.9 4 ท่านต้องอดอาหารบางมื้อหรือกินบางมื้อน้อยลง เพราะเงินไม่พอหรือขาดทรัพยากรอื่นๆ ที่จะได้รับอาหาร (อดมื้อกินมื้อเพราะเงินไม่พอ) ไม่นับการถือศีลอด 76.7 17.0 5.8 0.5 1.0+0.6 5 ท่านรู้สึกหิวแต่ไม่ได้กิน เพราะเงินไม่พอ หรือขาดทรัพยากรอื่น ๆ สำหรับอาหาร 76.7 14.1 9.2 0 1.0+0.6 6 เคยมีช่วงเวลาที่ท่าน ไม่ได้กินอาหารเลยทั้งวันเพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 82.9 11.2 5.4 0.5 1.0+0.6 7 ท่านได้รับการบริจาค การช่วยเหลือด้านอาหารจากหน่วยงาน เพื่อนบ้าน หรือองค์กร 52.5 31.9 14.7 1.0 1.0+0.8 8 ครัวเรือนของท่าน ขาดแคลนอาหารหรือไม่มีอาหารที่จะกินเลย เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 85.9 12.1 1.9 0 1.0+0.6 9 ครัวเรือนของท่านมีอาหารกินไม่เพียงพอสำหรับสมาชิกในครอบครัวครบ ทั้ง 3 มื้อ 85.4 8.8 4.9 1.0 1.0+0.6 10 อาหารที่มีในครัวเรือน ของท่านเป็นอาหารที่มีครบ 5 หมู่ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน) 33.2 14.1 20.0 32.7 2.0+1.3

  ตารางที่ 4 การเตรียมความพร้อมของครัวเรือนเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติที่ผ่านมา การเตรียมพร้อม จำนวน (ครัวเรือน) ร้อยละ มีการเตรียมการ 110 68.3 ไม่มีการเตรียมการ 51 31.7

ความรอบรู้ทางอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 5 จำนวน และ ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรอบรู้ในแต่ละประเด็น ประเด็นความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ จำนวน ร้อยละ ด้านการวางแผนและจัดการ
1 ท่านจะเอาเงินไว้สำหรับซื้ออาหารให้เพียงพอก่อนการใช้จ่ายซื้อสิ่งอื่น เช่น เครื่องประดับ เสื้อผ้า ของเล่นให้ลูก 170 83.3 2 ท่านจะคิดรายการอาหารที่จะกินไว้ล่วงหน้าเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถจะหาอาหารได้เพียงพอตามต้องการ แม้ในสภาวะที่สถานการณ์อาหารเปลี่ยนไป 158 77.5 3 ท่านตัดสินใจเลือกอาหารโดยดูจากความคุ้มค่า (มีประโยชน์ต่อร่างกาย) คุ้มราคา (เหมาะกับเงินที่มี) หรือ สะดวกในการจัดเตรียมหรือปรุง 190 93.1 ด้านการเลือกอาหาร
4 ท่านหาอาหารได้จากแหล่งต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ซื้อจากตลาด เพื่อนบ้าน ปลูก/หาได้เอง 197 96.6 5 ท่านจะอ่านฉลากเพื่อดูว่าอาหารประกอบด้วยอะไร เก็บรักษาแบบไหน และจะกินอย่างไร 173 85.2 6 ท่านจะสอบถามข้อมูลจากผู้ขายถึงแหล่งที่มา วิธีการกิน การเก็บรักษาเพื่อให้จัดการให้เหมาะสม 160 78.4 7 ท่านบอกได้ว่า อาหารชนิดใดดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพ เมื่อทราบแหล่งที่มา หรือแหล่งผลิตอาหาร หรือองค์ประกอบ หรือจากการอ่านฉลากอาหาร 159 78.3 ด้านการเตรียมอาหาร
8 ท่านทำอาหารทานได้ไม่ว่าวัตถุดิบที่มีจะเป็นอะไร ด้วยอุปกรณ์เครื่องครัวเท่าที่มี 175 86.2 9 ท่านล้างมือทุกครั้งก่อนเตรียมอาหาร 191 92.3 10 ท่านล้างผักและเนื้อสัตว์โดยใช้น้ำไหลผ่านอย่างทั่วถึง 196 96.6 11 ท่านเก็บอาหารที่ทานไม่หมดไว้ในที่มิดชิด เช่น ตู้กับข้าว ครอบฝาชี หรือใส่ภาชนะที่มีฝาปิด 194 96.5 12 เมื่อกินอาหารกระป๋อง ท่านจะอุ่นทั้งกระป๋อง 143 71.5 ด้านการรับประทานอาหาร
13 ท่านรู้ว่าเด็กที่เตี้ยเป็นผลจากการกินอาหารไม่ครบถ้วน หรือกินอาหารไม่พอ 115 56.7 14 ท่านจะกินอาหารที่มีรสหวาน หรือมัน หรือเค็ม เป็นประจำ 126 62.1 15 ท่านคุมปริมาณอาหารเพื่อรักษาน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป 122 60.1 16 ท่านใส่ใจกับการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน 153 75.0

ตารางที่ 6 คะแนนระดับความรอบรู้ทางอาหารในแต่ละด้าน ของครัวเรือน (n =  ) องค์ประกอบความรอบรู้ด้านอาหาร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวางแผนและจัดการ 3 2.5 0.7 การเลือกอาหาร 4 3.4 0.9 การเตรียมอาหาร 5 4.4 0.9 การรับประทานอาหาร 4 2.5 1.2 คะแนนรวม 16 13.0 2.5

ผลการสำรวจความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยของผู้ปรุงประกอบอาหาร
ในพื้นที่ ตำบลทรายขาว    อำเภอโคกโพธิ์      จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา (n =23) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 0 0 หญิง 23 100 อายุ (ปี) (mean + SD) 46.95+12.3 ศาสนา อิสลาม 17 73.9 พุทธ 6 26.1 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 4 18.2 มัธยมศึกษา/ปวช. 11 50.0 อนุปริญญา/ ปวส. 5 22.7 ปริญญาตรี 2 9.1 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 5000 บาท 5 21.7 5001 – 10000 บาท 14 60.9 10001 – 15000 บาท 3 13.0 15001 – 20000 บาท 1 4.3 ลักษณะสถานบริการอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน 4 18.2 ร้านอาหารที่มีอาคาร สถานที่แน่นอน 1 4.5 แผงลอย/เพิงขายอาหาร (ประกอบอาหารที่แผงร้านค้า) 2 9.1 แผงลอย/เพิงขายอาหารปรุงสำเร็จ (ประกอบอาหารจากที่อื่น) 10 45.5 อื่น ๆ 5 22.7 บทบาทในการประกอบอาหาร ผู้จัดหาวัตถุดิบ/เครื่องปรุง 9 40.9 แม่ครัว/ผู้ประกอบอาหาร 17 77.3 ผู้กำหนดเมนู/รายการอาหาร 4 18.2 ประสบการณ์การทำงาน (ปี) (mean + SD) 9.1+7.7

การจัดหาวัตถุดิบและเครื่องปรุง ตารางที่ 2 แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร แหล่งที่มาของวัตถุดิบ จำนวน ร้อยละ ประเภทของวัตถุดิบที่ซื้อ ตลาด 18 78.3
ร้านค้าในชุมชน 15 65.2
รถเร่/รถพุ่มพวง 23 100 ผู้ผลิต (เกษตรกร) 1 4.3

พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการอาหาร ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ปรุงอาหารจำแนกตามความถี่ของการปฏิบัติด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยของอาหาร พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของผู้ตอบ หมายเหตุ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ประจำปฏิบัติ
การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 1 ท่านเลือกซื้อวัตถุดิบอาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ในการประกอบอาหาร สดใหม่ (ประกอบอาหารหมดภายใน 1-2 วัน) 0 13.0 87.0
2 ท่านซื้อวัตถุดิบประเภทผักสด ผลไม้ จากร้านที่ได้รับมาตรฐานอาหารปลอดภัย เช่น แหล่งการผลิตหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Q Organic) คุณภาพทางการเกษตร GAP ระบบประกันคุณภาพในระดับท้องถิ่น (PGS) 0 26.1 73.9
3 ท่านซื้อวัตถุดิบอาหารสดประเภทผัก ผลไม้ จากเกษตรกรโดยตรง 4.3 52.2 43.5
4 ท่านซื้ออาหารทะเล เช่น ปลา กุ้ง หอย ปลาหมึก จากผู้ขายที่มั่นใจว่าไม่มีการใส่สารปนเปื้อนในอาหารทะเล 9.1 40.9 50.0
5 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในตู้เย็นตามอุณหภูมิที่เหมาะสมแต่ละประเภทของวัตถุดิบ 4.3 4.3 91.3
6 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในถังน้ำแข็ง/ ภาชนะอื่นๆ 4.3 13.0 82.6
7 ท่านดูวันหมดอายุที่ฉลากสินค้าก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ 4.8 9.5 85.7
การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์)
8 ท่านรักษาความสะอาด (ไม่มีคราบเศษอาหารหรือคราบสกปรก) สถานที่ในการปรุงอาหาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 0 8.7 91.3
9 ท่านปรุงอาหารในสถานที่ที่มีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมระบายอากาศ 0 17.4 82.6
10 ท่านทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารด้วยวิธีการ กวาด ถู เช็ด ทุกวันก่อนหรือหลังที่จะทำอาหาร 0 13.0 87.0
11 ท่านมีการจัดวัสดุอุปกรณ์ ของใช้ในครัวเป็นระเบียบ เรียบร้อย และจัดเป็นสัดส่วน 0 8.7 91.3
12 ท่านใช้น้ำยาล้างจานในการทำความสะอาดภาชนะและล้างด้วยน้ำเปล่า 2 ครั้ง 0 4.3 95.7
การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 13 ท่านเตรียมวัตถุดิบอาหารหรือวางภาชนะที่ใส่อาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 4.8 14.3 81.0
14 ท่านมีการแยกวัตถุดิบระหว่างอาหารสด อาหารแห้งและอาหารปรุงสำเร็จเพื่อเตรียมปรุงอาหาร 0 4.3 95.7
15 ท่านทำความสะอาดผัก ผลไม้ ด้วยวิธีการ ปลอดภัย เช่น ล้างด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านก่อนที่จะนำมาปรุงอาหาร/การใช้เบคกิ้งโซดา 0 8.7 91.3
16 ท่านล้างวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้รวมกันในครั้งเดียว 56.5 4.3 39.1
17 ท่านใช้เขียงอาหารดิบและอาหารสุกร่วมกันในการประกอบอาหาร 45.5 18.2 36.4
18 ท่านใช้น้ำมันเก่าผสมกับน้ำมันใหม่ในการปรุงอาหาร 56.5 26.1 17.4
19 ท่านดูแลความสะอาดของร่างกาย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้าสะอาด สวมหน้ากากอนามัย สวมถุงมือ หมวก และผ้ากันเปื้อนที่สะอาด 4.3 13.0 82.6
20 ท่านมีการล้างมือด้วยสบู่/ เจลแอลกอฮอล์ ก่อนสัมผัสอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ ในการเตรียม ปรุง จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร 0 17.4 82.6
21 ท่านมีการใช้ประโยชน์จากอาหารเหลือทิ้งด้วยการเป็นอาหารสัตว์ หรือปุ๋ยหมัก 9.1 18.2 72.7
22 ท่านจัดการของเสียจากกระบวนการอาหารกลางวัน เช่นน้ำมันทอดซ้ำ น้ำล้างวัตถุดิบ เศษอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล 4.3 21.7 73.9
การขนส่ง 23 ท่านมีการจัดส่งอาหารไปสู่ผู้บริโภค โดยไม่มีฝาปิดให้มิดชิด 73.9 13.0 13.0
2.24 เมื่อท่านจัดทำอาหารปรุงสำเร็จพร้อมบริโภค มีการเก็บแยกเป็นสัดส่วน ปกปิดและไม่วางบนพื้น 4.3 4.3 91.3
25 ท่านให้ผู้บริโภคหยิบอาหารได้ตามใจชอบ และสามารถใช้มือหยิบในภาชนะได้เลย 69.6 8.7 21.7
26 ท่านดูแลรักษาความสะอาดของพื้นที่ บริการอาหาร/เสิร์ฟอาหาร ที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนสู่อาหารได้ 4.3 8.7 87.0
27 ท่านนำภาชนะที่เคยบรรจุสารเคมีมาใช้บรรจุอาหาร เช่น ถังสี/ถังน้ำมัน 73.9 8.7 17.4
28 ท่านมีการปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น ตัดเล็บ ความสะอาดของเสื้อผ้า ไม่ไอหรือจามรดอาหาร 8.7 4.3 87.0

ตารางที่ 4 ระดับคะแนนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารในด้านต่าง ๆ ของผู้ปรุงประกอบอาหาร ความปลอดภัยในอาหารด้านต่าง ๆ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 21 19.0 1.6 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์) 15 14.5 1.2 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 30 26.2 2.7 การขนส่ง 18 16.1 2.1 รวมทั้งหมด 84 75.7 6.0

ผลการสำรวจความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยของผู้ปรุงประกอบอาหาร
ในพื้นที่ ตำบลทรายขาว    อำเภอโคกโพธิ์      จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา (n =23) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 0 0 หญิง 23 100 อายุ (ปี) (mean + SD) 46.95+12.3 ศาสนา อิสลาม 17 73.9 พุทธ 6 26.1 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 4 18.2 มัธยมศึกษา/ปวช. 11 50.0 อนุปริญญา/ ปวส. 5 22.7 ปริญญาตรี 2 9.1 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 5000 บาท 5 21.7 5001 – 10000 บาท 14 60.9 10001 – 15000 บาท 3 13.0 15001 – 20000 บาท 1 4.3 ลักษณะสถานบริการอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน 4 18.2 ร้านอาหารที่มีอาคาร สถานที่แน่นอน 1 4.5 แผงลอย/เพิงขายอาหาร (ประกอบอาหารที่แผงร้านค้า) 2 9.1 แผงลอย/เพิงขายอาหารปรุงสำเร็จ (ประกอบอาหารจากที่อื่น) 10 45.5 อื่น ๆ 5 22.7 บทบาทในการประกอบอาหาร ผู้จัดหาวัตถุดิบ/เครื่องปรุง 9 40.9 แม่ครัว/ผู้ประกอบอาหาร 17 77.3 ผู้กำหนดเมนู/รายการอาหาร 4 18.2 ประสบการณ์การทำงาน (ปี) (mean + SD) 9.1+7.7

การจัดหาวัตถุดิบและเครื่องปรุง ตารางที่ 2 แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร แหล่งที่มาของวัตถุดิบ จำนวน ร้อยละ ประเภทของวัตถุดิบที่ซื้อ ตลาด 18 78.3
ร้านค้าในชุมชน 15 65.2
รถเร่/รถพุ่มพวง 23 100 ผู้ผลิต (เกษตรกร) 1 4.3

พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการอาหาร ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ปรุงอาหารจำแนกตามความถี่ของการปฏิบัติด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยของอาหาร พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของผู้ตอบ หมายเหตุ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ประจำปฏิบัติ
การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 1 ท่านเลือกซื้อวัตถุดิบอาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ในการประกอบอาหาร สดใหม่ (ประกอบอาหารหมดภายใน 1-2 วัน) 0 13.0 87.0
2 ท่านซื้อวัตถุดิบประเภทผักสด ผลไม้ จากร้านที่ได้รับมาตรฐานอาหารปลอดภัย เช่น แหล่งการผลิตหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Q Organic) คุณภาพทางการเกษตร GAP ระบบประกันคุณภาพในระดับท้องถิ่น (PGS) 0 26.1 73.9
3 ท่านซื้อวัตถุดิบอาหารสดประเภทผัก ผลไม้ จากเกษตรกรโดยตรง 4.3 52.2 43.5
4 ท่านซื้ออาหารทะเล เช่น ปลา กุ้ง หอย ปลาหมึก จากผู้ขายที่มั่นใจว่าไม่มีการใส่สารปนเปื้อนในอาหารทะเล 9.1 40.9 50.0
5 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในตู้เย็นตามอุณหภูมิที่เหมาะสมแต่ละประเภทของวัตถุดิบ 4.3 4.3 91.3
6 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในถังน้ำแข็ง/ ภาชนะอื่นๆ 4.3 13.0 82.6
7 ท่านดูวันหมดอายุที่ฉลากสินค้าก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ 4.8 9.5 85.7
การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์)
8 ท่านรักษาความสะอาด (ไม่มีคราบเศษอาหารหรือคราบสกปรก) สถานที่ในการปรุงอาหาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 0 8.7 91.3
9 ท่านปรุงอาหารในสถานที่ที่มีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมระบายอากาศ 0 17.4 82.6
10 ท่านทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารด้วยวิธีการ กวาด ถู เช็ด ทุกวันก่อนหรือหลังที่จะทำอาหาร 0 13.0 87.0
11 ท่านมีการจัดวัสดุอุปกรณ์ ของใช้ในครัวเป็นระเบียบ เรียบร้อย และจัดเป็นสัดส่วน 0 8.7 91.3
12 ท่านใช้น้ำยาล้างจานในการทำความสะอาดภาชนะและล้างด้วยน้ำเปล่า 2 ครั้ง 0 4.3 95.7
การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 13 ท่านเตรียมวัตถุดิบอาหารหรือวางภาชนะที่ใส่อาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 4.8 14.3 81.0
14 ท่านมีการแยกวัตถุดิบระหว่างอาหารสด อาหารแห้งและอาหารปรุงสำเร็จเพื่อเตรียมปรุงอาหาร 0 4.3 95.7
15 ท่านทำความสะอาดผัก ผลไม้ ด้วยวิธีการ ปลอดภัย เช่น ล้างด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านก่อนที่จะนำมาปรุงอาหาร/การใช้เบคกิ้งโซดา 0 8.7 91.3
16 ท่านล้างวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้รวมกันในครั้งเดียว 56.5 4.3 39.1
17 ท่านใช้เขียงอาหารดิบและอาหารสุกร่วมกันในการประกอบอาหาร 45.5 18.2 36.4
18 ท่านใช้น้ำมันเก่าผสมกับน้ำมันใหม่ในการปรุงอาหาร 56.5 26.1 17.4
19 ท่านดูแลความสะอาดของร่างกาย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้าสะอาด สวมหน้ากากอนามัย สวมถุงมือ หมวก และผ้ากันเปื้อนที่สะอาด 4.3 13.0 82.6
20 ท่านมีการล้างมือด้วยสบู่/ เจลแอลกอฮอล์ ก่อนสัมผัสอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ ในการเตรียม ปรุง จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร 0 17.4 82.6
21 ท่านมีการใช้ประโยชน์จากอาหารเหลือทิ้งด้วยการเป็นอาหารสัตว์ หรือปุ๋ยหมัก 9.1 18.2 72.7
22 ท่านจัดการของเสียจากกระบวนการอาหารกลางวัน เช่นน้ำมันทอดซ้ำ น้ำล้างวัตถุดิบ เศษอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล 4.3 21.7 73.9
การขนส่ง 23 ท่านมีการจัดส่งอาหารไปสู่ผู้บริโภค โดยไม่มีฝาปิดให้มิดชิด 73.9 13.0 13.0
2.24 เมื่อท่านจัดทำอาหารปรุงสำเร็จพร้อมบริโภค มีการเก็บแยกเป็นสัดส่วน ปกปิดและไม่วางบนพื้น 4.3 4.3 91.3
25 ท่านให้ผู้บริโภคหยิบอาหารได้ตามใจชอบ และสามารถใช้มือหยิบในภาชนะได้เลย 69.6 8.7 21.7
26 ท่านดูแลรักษาความสะอาดของพื้นที่ บริการอาหาร/เสิร์ฟอาหาร ที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนสู่อาหารได้ 4.3 8.7 87.0
27 ท่านนำภาชนะที่เคยบรรจุสารเคมีมาใช้บรรจุอาหาร เช่น ถังสี/ถังน้ำมัน 73.9 8.7 17.4
28 ท่านมีการปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น ตัดเล็บ ความสะอาดของเสื้อผ้า ไม่ไอหรือจามรดอาหาร 8.7 4.3 87.0

ตารางที่ 4 ระดับคะแนนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารในด้านต่าง ๆ ของผู้ปรุงประกอบอาหาร ความปลอดภัยในอาหารด้านต่าง ๆ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 21 19.0 1.6 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์) 15 14.5 1.2 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 30 26.2 2.7 การขนส่ง 18 16.1 2.1 รวมทั้งหมด 84 75.7 6.0

สรุปผลกระบวนการเรียนรู้ของแกนนำชุมชนใช้เครื่องมือพัฒนานโยบายสาธารณะ
ประเด็นระบบอาหารและโภชนาการ จ.ปัตตานี ตำบลสุคิริน จ.นราธิวาส และเทศบาลตำบลปริก รอบที่ 1 วันที่ 22-23 เมษายน 2567 ณ โรงแรมซีเอส ปัตตานี รพ.สต. ……ทรายขาว...… อำเภอ……....…โคกโพธิ์……....…จังหวัด………………ปัตตานี…………….

ลำดับที่ ผลการเรียนรู้การใช้เครื่องมือ เครื่องมือ 1: Systems Map เพื่อให้เห็นระบบอาหารของพื้นที่ เครื่องมือ 2: Problem Statement
เพื่อระบุประเด็น (ใคร มีปัญหาอะไร เพราะอะไร หา insights) เครื่องมือ 3:
How might we?
ฝึกตั้งคำถามเพื่อมองโจทย์ในมุมใหม่ ๆ เครื่องมือ 4:
Ideation – Idea flower ร่างโครงการ วันที่ 1 การเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายราย - เปลี่ยนจากปลูกข้าวไปปลูกทุเรียนแทน ราคาทุเรียนได้มากกว่า

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - สภาพแห้งแล้ง ทำให้การเพาะปลูกและการเกษตรได้รับผลผลิตน้อยลง

นโยบาย มาตรการ กฎหมาย - ราคายางขึ้น ทำให้มีกำลังในการซื้ออาหารในครัวเรือนมากขึ้น

ความเป็นเมือง - พื้นที่เป็นชุมชนท่องเที่ยว สามารถสร้างรายได้ให้คนในชุมชน

การเติบโตของประชากรและการย้ายถิ่น - ไม่อยากมีลูก เนื่องจากว่างงาน มีรายได้น้อย

บริบททางสังคม-วัฒนธรรม - เป็นพหุวัฒนธรรมมีทั้งศาสนาอิสลาม/พุทธ อยู่ร่วมกัน ไม่แตกแยก - ช่วงเดือนรอมฎอน(ถือศีลอด) เด็กจะงดมื้อและรอรับประทานอาหารช่วงละศีลอด(ค่ำ)

โลกาภิวัฒน์และการค้าระหว่างประเทศ - ทุเรียนส่งไปจีน - ส่งห้าง

ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนระบบ 1.ห่วงโซ่อุปทานอาหาร - พื้นที่อุดมสมบูรณ์
- ดินดี - น้ำเพียงพอ - เป็นสินค้า OTOP - มีการแปรรูปอาหารและส่งจำหน่ายไปยังพื้นที่ต่างๆ - มีการจำหน่ายในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียง เนื่องจากเพียงพอในพื้นที่ - ปลูกพืช,ผลไม้เฉพาะ ทำให้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ - มีการผลิตอาหารเอง เช่น ปลูกผัก,เลี้ยงปลา,เลี้ยงไก่ - มีสภาพแวดล้อมที่ดี - ทุเรียนทรายขาวสร้างชื่อเสียงให้กับพื้นที่ ทำให้ได้รับการรู้จักจากพื้นที่อื่นๆ ในประเทศ

2.ปัจจัยแวดล้อม - อาหารบางอย่าง เป็นอาหารแช่แข็ง (ไม่สด) เพราะราคาถูก - มีตลาดวันอาทิตย์ - มีตลาดวันจันทร์/วันศุกร์ - อาหารในตลาดมีปนเปื้อนสารเคมี - ผลิตอาหารเน้นการสร้างรายได้มากกว่ารับประทาน - เป็นพื้นที่ที่คนรวยกระจุก คนจนกระจาย


3.ปัจจัยระดับครัวเรือน/ชุมชน/ร.ร./ศพด. - พ่อแม่ไม่มีเวลาทำอาหาร เนื่องจากต้องไปทำงาน - เด็กอยู่กับ ปู่-ยา-ตา-ยาย - มีโปรแกรมThai school lunch - หย่าร้าง - ฐานะทางการเงินของครอบครัวไม่ดี หาเช้ากินค่ำ

4.พฤติกรรมการจัดการอาหารของครู/แม่ครัว - คุณแม่ไปทำงานให้ลูกทานนมผสม/นมกล้อง - ซื้อจากร้านขายอาหารเช้า - บางครอบครัวทำเอง - ไม่คำนึงถึงโภชนาการ(ไม่มีเวลา) - ขึ้นอยู่กับความชอบของลูก - ทางร.ร./ครูโภชนาการ ได้รับการอบรมและจัดทำเมนูอาหาร+มีการอบรม - เก็บอาหารที่เหลือใช้กินมื้อต่อไป - ปัญหาจากเด็ก   1.)เด็กไม่ชอบทานนม   2.)เด็กไม่ชอบทานปลา   3.)เด็กไม่ชอบทานผัก - พ่อแม่เร่งรีบไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหารให้ - เด็กตื่นสาย - เด็กเบื่อการทานอาหาร แค่นมก็พอ - ปัจจัยที่มีผลต่อการทานอาหารครบ 5 หมู่ ขาดความรู้ ความเข้าใจในความหมายของคำว่า 5 หมู่ ว่ามีอาหารประเภทใดบ้าง

5.อาหารที่รับประทาน - มื้อเช้า   1.)ข้าวต้ม/โจ๊ก   2.)นมกล่อง   3.)ข้าวเหนี่ยวไก่ทอด   4.)ข้าวหมก ไม่ครบโภชนาการ ไม่ครบอาหารหลัก 5 หมู่ ส่วนใหญ่ซื้อจากร้านในชุมชนและทำกินเองส่วนน้อย เด็กบางคนไม่ชอบกินข้าว -มื้อกลางวัน(ร.ร./ศพด.)   1.)ขึ้นอยู่กับอาหารที่ศูนย์เด็กจัดให้/นม   2.)ผลไม้   3.)อาหารว่าง -มื้อกลางวัน(อยู่บ้าน)   1.)ก๋วยเตี๋ยว/ผัด/น้ำ   2.)ข้าวไข่เจียว   3.)มาม่า

-มื้อเย็น   1.)พ่อแม่ ปรุงเองที่บ้านเอง   2.)อาหารปรุงสำเร็จ(แกงถุง) -มื้ออาหารว่าง   1.)นมเปรี้ยว   2.)ขนมกรุบกรอบ/ขนมซอง   3.)ลูกชิ้น   4.)อาหารสำเร็จรูป ใคร = พ่อ-แม่ ปัญหา = ไม่ทันเตรียมอาหารให้ลูก เพราะอะไร = เพราะรีบไปทำงานต่างพื้นที่,ไม่มีเวลาทำอาหารให้ลูกกินในมื้อเช้า

ใคร = คนในครอบครัวที่ดูแล-เลี้ยงดูเด็ก ปัญหา = ไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหาร เพราะต้องเร่งรีบในการประกอบอาชีพ ทำอะไร = ต้องให้ความรู้ ความเข้าใจในปัญหาที่จะส่งผลต่อลูกในอนาคต/สมอง เพราะอะไร = ไม่มีความรู้และความเข้าใจถืองผลเสียของการกินอาหารไม่ครบ

ใคร = พ่อแม่-คนดูแล ทำอะไร = ตามใจเด็กในสิ่งที่เด็ก/ลูกต้องการหรือถูกใจ แต่ไม่ถูกต้อง เพราะอะไร = ไม่ดีต้องแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องจะต้องไม่ตามเด็กใจเด็ก

ใคร = พ่อ-แม่ ปัญหา = สภาพปัญหาทางครอบครัว,พ่อแม่อย่าร้างกัน เพราะอะไร = ทำให้เด็กขาดคนดูแล


ใคร = เด็ก ปัญหา = เลือกอาหารที่ชอบ การแก้ = ต้องให้ผู้ปกครอง ทำให้หลากหลายเมนูแต่ละวันไม่ซ้ำ

ใคร = เด็ก ปัญหา = ไม่อยากกินข้าว เพราะอะไร = กินขนม กินนมเป็นส่วนมากเลย ทำให้ไม่อยากกินข้าว

ใคร = ชุมชน/ตลาด ปัญหา = การจำหน่ายอาหาร เพราะอะไร = มีการจำหน่ายอาหารที่มีรสชาติทานได้ไม่เบื่อ ทำให้เด็กเลือกกินแต่อาหารประเภทฟาสต์ฟู้ดมากกว่าอาหารที่มีประโยชน์ เช่น เฟรนช์ฟราย,ไส้กรอก,ชานม,ชาไข่มุก

ใคร = พ่อ-แม่ ปัญหา = ความรู้ที่ไม่เพียงพอ,ความเชื่อที่ผิด เพราะอะไร = เชื่อว่าเด็กจะโตตามช่วงวัยและไม่มีความรู้เพียงพอต่อประเภทอาหาร จึงความเข้าใจผิดในการดูแลเรื่องอาหารของลูก

ใคร = รัฐบาล ปัญหา = แจกนมจืดที่ไม่อร่อย เด็กไม่ชอบทาน แก้ไข = นำมาแปรรูปอาหาร จากนมเป็นนมอัดเม็ด(รสชาติต่างๆ)

- เราจะทำอย่างไรให้แบ่งเวลาให้กับลูกก่อนทำงาน

- เราจะทำอย่างไรให้รัฐบาลต่อยอด จากอาชีพที่ได้ส่งเสริมหรือให้งบ เพื่อสร้างอาชีพสร้างรายได้ที่ถาวร - เราจะทำยังไง ให้รัฐบาลลดค่าครองชีพลง เพื่อให้ผู้ปกครองมีเวลาดูแล-ใส่ใจลูกได้มาก - แปรรูปอาหารในหน้าดึงดูดและมีสีสัน ทำให้หน้ารับประทานมากขึ้น - จะทำยังไงให้เล่นโทรศัพท์ระหว่างกินอาหาร - ไม่ให้อาหารถุงมาให้เด็กทาน ด้วยเวลาเร่งรีบทีจะต้องออกไปทำงานต่างพื้นที่ เพื่อสร้างรายได้ให้ครอบครัว - เราจะทำอย่างไร มีการจัดกิจกรรมภายในหมู่บ้านในเรื่องอาหารที่มีประโยชน์ - เราจะทำอย่างไร ให้การเตรียมอาหารให้กับลูกเป็นเรื่องสนุกและถูกโภชนาการ - ให้รัฐบาลเปลี่ยนจากเงินส่งเคราะห์บุตร เป็นเงิน เนื้อ-นม-ไข่ (ของอุปโภคบริโภคในครัวเรื่อง) สิ่งที่ทำได้เลย - มีการแสดงจากกลุ่มคนดังในพื้นที่ชุมชนหรือพื้นที่ใกล้เคียง - มีการพบปะพูดคุยในชุมชนและแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องอาหาร

ไอเดียไม่ใช้งบ - คอนเทนต์ประกอบอาหารลง Tik Tok - เสนอสส.ในชุมชน/เขตรับผิดชอบ เพื่อแก้ปัญหาต่อไป

ไอเดียสำหรับเด็ก - ประกวดเด็กสุขภาพดี - เชฟเด็กน้อย เมนูเด็กๆ - กินอาหารมีประโยชน์ เช่น กินผัก,ผลไม้,นม เก็บแต้ม เพื่อแลกรับของและได้ของมี่อยากได้ ไอเดียสำหรับเด็ก - ปลูกผักปลอดสารพิษกับลูกหลาน - ปลูกผักปลอดสารพิษให้กับคนในครอบครัว

ร้านค้า/7-11 - แปรรูปผัก/ผลไม้อบกรอบ - ซื้อผักในร้านค้า/7-11 ได้แต้ม - การขนส่ง ลดราคาการขนส่งในอาหารที่มีโภชนาการดี


ชุมชนมีส่วนเกี่ยวข้อง - ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการรับบริจาคเผื่อใช้จัดกิจกรรม - จัดกิจกรรมประจำปีในการประกวดเด็กดีโภชนาการเยียม - มีตลาดนัดอาหารเพื่อสุขภาพทุก 1-2 วันของสัปดาห์ - เชฟกระทะเหล็กในกลุ่มเด็กเล็ก

กระแสออนไลน์ - เชิญชวนเน็ตไอดอลในชุมชน/ดาว Tik Tok - มีเพจประจำหมู่บ้าน เช่น Facebook ,Tik Tok,Twitter, IG , Youtube

วันที่ 2 ความรู้ พฤติกรรม การบริโภคอาหารของคนในพื้นที่ “ตำบลทรายขาว” 1.สิ่งที่เกิดขึ้น - ไม่มีอาหารให้บริโภค - รายได้ไม่เพียงพอ - การศึกษา - มีความรู้ไม่เพียงพอ - ดำเนินชีวิตตามความเคยชิน - เวลาที่เร่งรีบ

2.ปัจจัยส่วนบุคคล - ความเชื่อส่วนบุคคล - ในหญิงหลังคลอดจะเลือกบริโภคเฉพาะปลา - หญิงตั้งครรภ์ไม่ค่อยกินอาหารเสริมธาตุเหล็กมีความเชื่อว่ากินแล้วจะทำให้โตในครรภ์ - เน้นกินอาหารที่มีพลังงานสูง เพื่อใช้งานในแต่ละวัน

3.ปัจจัยแวดล้อม - เศรษฐกิจ - อาชีพ - พื้นที่อุดมสมบูรณ์ - เปลี่ยนความคิดการเพาะปลูกจากปลูกข้าวมาปลูกทุเรียน - เน้นปลูกพืชเศรษฐกิจมากกว่าพืชผักสวนครัว - อุทยานน้ำตกทรายขาว - มัสยิด 300 ปี -ทุเรียนพรีเมียม (หมอนทอง)

4.ปัจจัยภายนอก - สื่อโฆษณาชวนเชื่อ - ร้านค้า/ค่าเฟ่ เปิดใหม่มากขึ้น - ร้านค้าออนไลน์และระบบขนส่งสะสวกขึ้น - สื่อจากการเช็คอินร้านค้าเช่น Facebook ,Tik Tok,Twitter, IG , Youtube
5.พฤติกรรม - เลือกกินอาหารที่ชอบ - เลือกซื้ออาหารที่ไม่มีคุณภาพและไม่มีอย. - ไม่อ่านฉลากก่อนเลือกบริโภค - กินอาหารค้างคืน - เลือกซื้ออาหารปรุงสำเร็จ เช่น แกงถุง - กินอาหารสำเร็จรูป - อาหารแช่แข็ง - โรคประจำตัว เช่น  ความดัน,เบาหวาน,เก๊าท์
- สภาพอากาศที่ร้อน ใคร = พ่อ-แม่ ปัญหา = ไม่มีเวลาในการหาวัตถุดิบ

ใคร = คนในครอบครัวที่ดูแล-เลี้ยงดูเด็ก ปัญหา = ขาดความตะหนักในการเลือกบริโภคอาหาร

ใคร = คนในครอบครัวที่ดูแล-เลี้ยงดูเด็ก ปัญหา = ความเชื่อในเรื่องอาหารบางชนิด

ใคร = คนในครอบครัวที่ดูแล-เลี้ยงดูเด็ก ปัญหา = ขาดความรู้,ความเข้าใจในเรื่องการเลือกบริโภคอาหาร - เพิ่มบทเรียนในห้องเรียน - ส่งเสริมกิจกรรมการเลือกบริโภคอาหาร - มีตลาดสุขภาพในชุมชน - เพิ่มแหล่งเรียนรู้ในชุมชน - อบรมให้ความรู้ในแต่ละช่วงวัยจากผู้เกี่ยวข้อง - มีการประกวดสุขภาพดีภายในชุมชน - ส่งเสริมรับประทานอาหารที่หลากหลาย - ในชุมชนมีร้านอาหารเพื่อสุขภาพ - เผยแพร่สื่อโซเซียลในช่องทางออนไลน์ Facebook ,TikTok,Twitter, IG , Youtube
- ทำอาหารที่มีประโยชน์และที่ดีต่อเด็กทุกกลุ่มวัย - ส่งเสริมในครัวเรือนปลุกผัก ,เลี้ยงไก่,เลี้ยงปลา ไว้กินเอง - ประเมินภาวะโภชนาการก่อนรับเงินอุกหนุนเพิ่ม-ลดตามสภาพปัญหาของแต่ละคน - เราจะทำอย่างไรให้การกินอาหารสำเร็จรูปลดลง - กลุ่มคนเปราะบาง   1.)ด้อยโอกาส   2.)หญิงตั้งครรภ์   3.)พิการ   4.)สูงอายุ - เราจะทำอย่างไร ให้ประชาชนกินอาหารครบ  5 หมู่

สิ่งที่ทำได้เลย - ให้ความรู้และนะไปใช้ในชีวิตประจำวัน ไอเดียไม่ใช้งบ - ส่งต่อกันในกลุ่มไลน์ ชุมชนมีส่วนเกี่ยวข้อง - เปิดตลาดสุขภาพในชุมชน - จัดกิจกรรมในเรื่องโภชนาการ กระแสออนไลน์ - ทำคลิปลงช่องทางออนไลน์ เช่นFacebook ,Tik Tok,Twitter, IG , Youtube

ไอเดียประชาชน - ลบความเชื่อในด้านที่ผิดเกี่ยวกับโภชนาการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปกิจกรรมประชุมตำบลทรายขาว วันที่30 พฤษภาคม 2567
สถานที่ รพ.สต.ทรายขาว เนื่องจากทางตำบลทรายขาวได้เห็นความสำคัญของโภชนาการด้านอาหารของเด็กที่ยังไม่ครบ5หมู่และหาวิธีการให้เด็กกินผักให้มากขึ้น รวมถึงความสำคัญของอาหารเช้า จึงคิดทำโครงการดังนี้ โดยการการประชุมมีผู้เข้าร่วมประชุม ตัวแทน รพ.สต.ทรายขาว -อสม. -ครูศพด.ทรายขาว -ผู้ใหญ่บ้าน -ปลัด -ผู้ใหญ่บ้าน มีการระดมความคิดเพิ่มเติมถึงกิจกรรมที่อยากให้เกิดขึ้นในชุมชน • ตลาดนัดวิชาการด้านโภชนาการ • ส่งเสริมการเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนสนับสนุนและเมล็ดพันธุ์พืช • ปลูกผักปลอดสารในโรงเรียนและชุมชน • อบรมให้ความรู้และโทษของอาหารแต่ละประเภทโดยเฉพาะอาหารที่จำหน่ายในพื้นที่ • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวิธีการปรุงอาหารของแม่ครัวแต่ละโรงเรียน • จัดกิจกรรมทำอาหารครบ 5 หมู่สำหรับเด็กนักเรียนในวัดเสาร์อาทิตย์ • จัดกิจกรรมแผงลอยเมนูอาหารสำหรับเด็ก • ให้เด็กกินไข่ต้มก่อนมาโรงเรียนวันละ 1 ฟอง • ปลูกผักแลกตังค์เลี้ยงไก่ได้กินไข่ • ชุมชนเลี้ยงไก่ส่งไข่ให้โรงเรียน • ประกวดหนูน้อยฟันดี • จัดเวทีพูดคุยกิจกรรมร่วมกันระหว่างวัดบ้านพ่อแม่โรงเรียนครูและนักเรียน • ปลูกผักข้างรั้วบ้านรั้วโรงเรียน • จัดเมนูอาหารที่เด็กชอบโดยไม่กินซ้ำกันในแต่ละวัน • แลกเปลี่ยนพันธุ์ผักแต่ละฤดูกาล • ให้นักเรียนทำกิจกรรมการทำอาหารโดยเอาผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองคนละอย่างมาทำร่วมกันและรับประทานร่วมกัน • จัดอาหารเช้าในโรงเรียนทุกวัน • เลี้ยงไก่ไว้ในโรงเรียน • ประกวดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ การระดมความคิดชื่อโครงการ • โครงการเยาวชนพ้นภัยผอมเตี้ย • โครงการปลอดสารพิษชีวิตปลอดภัย • โครงการอาหารหลัก 5 หมู่เพื่อหนูน้อย • โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กในโรงเรียน • โครงการเด็กสมบูรณ์พ่อแม่สุขใจ • โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยใส่ใจสุขอนามัย • โครงการชีวิตหนูจะปลอดภัยต้องอาศัยฝีมือแม่ครัว • โครงการอาหารเช้าอิ่มท้องสมองดี • โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค • โครงการอาหารถูกหลักลูกหลานถูกใจสุขภาพเด็กสมวัย • โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง • โครงการเด็กทรายขาวสุขภาพดีแข็งแรงอาหารอร่อย • โครงการตลาดสุขภาพชุมชนปลอดภัยเพื่อเด็กและครอบครัว • โครงการเยาวชนเข้าใจรู้ภัยโภชนาการ • โครงการคุณยายเข้าใจรู้ภัยโภชนาการ • โครงการอาหารปลอดภัยจากใจผู้ประกอบการ • โครงการผู้ปกครองใส่ใจตระหนักภัยโภชนาการ • โครงการตอบรับแผนสุขภาพเด็กตำบลทรายขาวโดยผู้ปกครอง • โครงการอาหารดีมีประโยชน์สุขภาพแข็งแรงปลอดภัยใส่ใจลูกหลาน • โครงการอาหารมื้อนี้ดีจังผู้ปกครองไม่ควักตังค์สักบาท • โครงการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเพื่อเตรียมพร้อมเด็กก่อนวัยเรียนด้านโภชนาการ • โครงการงบประมาณที่ให้ต้องเพียงพอกับอาหารหลัก 5 หมู่ • โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กด้วยอาหารเช้าของโรงเรียน ข้อแนะนำ จากการมาประชุมครั้งนี้ • ได้รับความรู้มากขึ้น • จะนำความรู้ที่ได้ไปใช้กับเด็กๆในศูนย์เด็กเล็กทรายขาว • ได้รับความรู้ทั้งจากดูวีดีโอเด็กที่มีความรับผิดชอบมีความเป็นระเบียบและความรู้ที่ได้จากการคืนข้อมูล • จะนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ในชุมชน • ได้รับความรู้ความเข้าใจกับสิ่งที่ได้รับฟัง • ได้แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้เข้าร่วมอบรมเป็นความรู้ที่ใกล้ตัวและจะนำแนวคิดมาใช้กับเด็กในโรงเรียน • เป็นโครงการที่ดีมีประโยชน์และสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน • จะนำความรู้ที่ได้ไปจัดกิจกรรมที่โรงเรียน • เป็นกิจกรรมที่ดีเพื่อพัฒนาเด็กครูแม่ครัวในการจัดกิจกรรมโภชนาการเราจะได้เดินทางไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่ดีกินอาหารที่มีประโยชน์ • ได้ทราบภาวะปัญหาจากแบบสำรวจที่แท้จริงเพื่อคิดกิจกรรมและโครงการในลำดับต่อไป • อยากให้กิจกรรมในวันนี้มีการต่อยอดให้เด็กในพื้นที่ทรายขาวได้ผ่านเกณฑ์ 100% • ได้รับความรู้และความภูมิใจที่จะนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก • ถือเป็นการระดมความคิดจากทุกฝ่ายในพื้นที่เด็กๆจะต้องมีสุขภาพดีขึ้นในอนาคต • ได้รับความรู้มากๆเกี่ยวกับหลักโภชนาการและจะนำมาใช้กับตนเองเพื่อเน้นการกินอาหารให้ถูกหลักอนามัยสะอาดและปลอดภัยใส่ใจต่อสุขภาพ