การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดปัตตานี

การประชุมพัฒนาโครงการฉบับบย่อประเด็นอาหารและโภชนาการ รพ.สต.ควน24 พฤษภาคม 2567
24
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yadaporn Yimkaew
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผลการสำรวจสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของครัวเรือน
ในพื้นที่ ตำบลควน  อำเภอปะนาเระ จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (n = 202) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ
ชาย 63 31.2 หญิง 137 67.8 อายุ (ปี) (mean+SD) 52.9+13.0 ระดับการศึกษา
ไม่ได้ศึกษา 5 2.5 ประถมศึกษา 57 28.2 มัธยมศึกษา/ปวช. 65 32.2 อนุปริญญา/ปวส. 31 15.3 ปริญญาตรี 43 21.3 สูงกว่าปริญญาตรี 1 0.5 รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือน (บาท) น้อยกว่า 5000 37 18.3 5001 – 10000 110 54.5 10001 – 15000 27 13.4 15001 – 20000 17 8.4 20001 – 25000 6 3.0 25001 – 30000 4 2.0 มากกว่า 30000 1 0.5 จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน)  (mean+SD) 4.1+2.0 อาชีพ
รับจ้าง 56 27.7 รับราชการ 15 7.4 เกษตรกรรม 50 24.8 ประมง 1 0.5 ธุรกิจส่วนตัว 27 13.4 อื่น ๆ 14 6.9 ประกอบอาชีพ มากกว่า 1 อาชีพ 39 19.3 วิธีการได้มาซึ่งอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 2 รูปแบบการได้มาซึ่งอาหารในครัวเรือน (n = 196) รูปแบบการได้มาซึ่งอาหาร จำนวนครัวเรือน (ร้อยละ) หมายเหตุ ผลิตอาหารเอง 99 (50.5) เหตุผลที่ไม่ได้ผลิตอาหารเอง 1.ไม่มีปัจจัยการผลิต ร้อยละ 65.6 2.ไม่มีองค์ความรู้ ร้อยละ 58.3 3.ดิน น้ำไม่เหมาะกับการผลิต ร้อยละ 3.1 รูปแบบการเกษตร 1. แบบอินทรีย์  ร้อยละ 59.7 2.แบบปลอดภัย ร้อยละ 9.1 3.แบบอื่น ๆ  ร้อยละ 31.2 - การเพาะปลูก 92 (93.9)
- ปศุสัตว์ 25 (25.5)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด 3 (3.1) - เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม 1 (1.0) ความพอเพียงของอาหารที่ผลิตในครัวเรือน
- ไม่พอ 0 (0.0) - พอเพียง 104 (100.0) หาจากธรรมชาติ 39 (26.4) หาจากแหล่ง


  สถานการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ตารางที่ 3 ร้อยละของครัวเรือนจำแนกตามระดับความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นใน 1 เดือนที่ผ่านมา เหตุการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร ไม่เคยเกิดขึ้น น้อยครั้ง (1-2 ครั้ง) บางครั้ง (3-10 ครั้ง) บ่อยมาก (>10ครั้ง) เฉลี่ยคะแนน (mean+SD) 1 ท่านกังวล ว่าจะไม่มีเงินซื้ออาหารกินอย่างเพียงพอ 81.6 13.3 5.1 0.0 1.2+0.5 2 ท่านไม่สามารถหาอาหารที่ครบ 5 หมู่ (ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน/ไขมัน) เพียงพอสำหรับการบริโภคเพราะมีเงินหรือทรัพยากรไม่พอ 86.0 11.5 2.5 0.0 1.2+0.4 3 ท่านกินอาหารเพียงไม่กี่ชนิด (มีกิน แต่กินซ้ำๆ เดิม ๆ ไม่มีคุณภาพ) เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 79.0 17.0 3.0 1.0 1.3+0.6 4 ท่านต้องอดอาหารบางมื้อหรือกินบางมื้อน้อยลง เพราะเงินไม่พอหรือขาดทรัพยากรอื่นๆ ที่จะได้รับอาหาร (อดมื้อกินมื้อเพราะเงินไม่พอ) ไม่นับการถือศีลอด 91.5 8.0 0.5 0.0 1.1+0.3 5 ท่านรู้สึกหิวแต่ไม่ได้กิน เพราะเงินไม่พอ หรือขาดทรัพยากรอื่น ๆ สำหรับอาหาร 92.5 7.0 0.5 0.0 1.1+0.3 6 เคยมีช่วงเวลาที่ท่าน ไม่ได้กินอาหารเลยทั้งวันเพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 94.5 5.5 0.0 0.0 1.1+0.2 7 ท่านได้รับการบริจาค การช่วยเหลือด้านอาหารจากหน่วยงาน เพื่อนบ้าน หรือองค์กร 85.9 12.6 1.0 0.5 1.2+0.4 8 ครัวเรือนของท่าน ขาดแคลนอาหารหรือไม่มีอาหารที่จะกินเลย เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 96.0 3.5 0.5 0.0 1.0+0.2 9 ครัวเรือนของท่านมีอาหารกินไม่เพียงพอสำหรับสมาชิกในครอบครัวครบ ทั้ง 3 มื้อ 93.0 6.5 0.5 0.0 1.1+0.3 10 อาหารที่มีในครัวเรือน ของท่านเป็นอาหารที่มีครบ 5 หมู่ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน) 59.8 4.5 10.6 25.1 3.0+0.3   ตารางที่ 4 การเตรียมความพร้อมของครัวเรือนเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติที่ผ่านมา (n= ) การเตรียมพร้อม จำนวน (ครัวเรือน) ร้อยละ ไม่มีการเตรียมการ 8 4.3 มีการเตรียมการ 177 95.7

ความรอบรู้ทางอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 5 จำนวน และ ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรอบรู้ในแต่ละประเด็น
ประเด็นความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ จำนวน ร้อยละ ด้านการวางแผนและจัดการ
1 ท่านจะเอาเงินไว้สำหรับซื้ออาหารให้เพียงพอก่อนการใช้จ่ายซื้อสิ่งอื่น เช่น เครื่องประดับ เสื้อผ้า ของเล่นให้ลูก 196 98.0 2 ท่านจะคิดรายการอาหารที่จะกินไว้ล่วงหน้าเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถจะหาอาหารได้เพียงพอตามต้องการ แม้ในสภาวะที่สถานการณ์อาหารเปลี่ยนไป 188 94.0 3 ท่านตัดสินใจเลือกอาหารโดยดูจากความคุ้มค่า (มีประโยชน์ต่อร่างกาย) คุ้มราคา (เหมาะกับเงินที่มี) หรือ สะดวกในการจัดเตรียมหรือปรุง 196 98.0 ด้านการเลือกอาหาร
4 ท่านหาอาหารได้จากแหล่งต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ซื้อจากตลาด เพื่อนบ้าน ปลูก/หาได้เอง 195 97.5 5 ท่านจะอ่านฉลากเพื่อดูว่าอาหารประกอบด้วยอะไร เก็บรักษาแบบไหน และจะกินอย่างไร 189 94.5 6 ท่านจะสอบถามข้อมูลจากผู้ขายถึงแหล่งที่มา วิธีการกิน การเก็บรักษาเพื่อให้จัดการให้เหมาะสม 178 89.0 7 ท่านบอกได้ว่า อาหารชนิดใดดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพ เมื่อทราบแหล่งที่มา หรือแหล่งผลิตอาหาร หรือองค์ประกอบ หรือจากการอ่านฉลากอาหาร 172 86.0 ด้านการเตรียมอาหาร
8 ท่านทำอาหารทานได้ไม่ว่าวัตถุดิบที่มีจะเป็นอะไร ด้วยอุปกรณ์เครื่องครัวเท่าที่มี 193 96.5 9 ท่านล้างมือทุกครั้งก่อนเตรียมอาหาร 194 97.0 10 ท่านล้างผักและเนื้อสัตว์โดยใช้น้ำไหลผ่านอย่างทั่วถึง 196 98.0 11 ท่านเก็บอาหารที่ทานไม่หมดไว้ในที่มิดชิด เช่น ตู้กับข้าว ครอบฝาชี หรือใส่ภาชนะที่มีฝาปิด 198 99.0 12 เมื่อกินอาหารกระป๋อง ท่านจะอุ่นทั้งกระป๋อง 77 38.5 ด้านการรับประทานอาหาร
13 ท่านรู้ว่าเด็กที่เตี้ยเป็นผลจากการกินอาหารไม่ครบถ้วน หรือกินอาหารไม่พอ 96 48.0 14 ท่านจะกินอาหารที่มีรสหวาน หรือมัน หรือเค็ม เป็นประจำ 52 26.0 15 ท่านคุมปริมาณอาหารเพื่อรักษาน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป 93 46.5 16 ท่านใส่ใจกับการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน 149 74.5

ตารางที่ 6 คะแนนระดับความรอบรู้ทางอาหารในแต่ละด้าน ของครัวเรือน (n = 200) องค์ประกอบความรอบรู้ด้านอาหาร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวางแผนและจัดการ 3 2.9 0.4 การเลือกอาหาร 4 3.7 0.8 การเตรียมอาหาร 5 4.3 0.6 การรับประทานอาหาร 4 2.0 1.2 คะแนนรวม 16 12.8 1.7


ผลการสำรวจความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยของผู้ปรุงประกอบอาหาร
ในพื้นที่ ตำบลควน    อำเภอปะนาเระ จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา (n =19) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 1 5.3 หญิง 18 94.7 อายุ (ปี) (mean + SD) 53.3+11.8 ศาสนา อิสลาม 13 68.4 พุทธ 6 31.6 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 8 42.1 มัธยมศึกษา/ปวช. 10 52.6 อื่น ๆ 1 5.3 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5001 – 10000 บาท 17 89.5 10001 – 15000 บาท 1 5.3 15001 – 20000 บาท 1 5.3 ลักษณะสถานบริการอาหาร ร้านอาหารที่มีอาคาร สถานที่แน่นอน 9 47.4 แผงลอย/เพิงขายอาหาร (ประกอบอาหารที่แผงร้านค้า) 4 21.1 แผงลอย/เพิงขายอาหารปรุงสำเร็จ (ประกอบอาหารจากที่อื่น) 5 26.3 อื่น ๆ 1 5.3 บทบาทในการประกอบอาหาร ผู้จัดหาวัตถุดิบ/เครื่องปรุง 6 37.5 แม่ครัว/ผู้ประกอบอาหาร 15 93.8 ผู้กำหนดเมนู/รายการอาหาร 5 31.3 ประสบการณ์การทำงาน (ปี) (mean + SD) 6.7+7.2


การจัดหาวัตถุดิบและเครื่องปรุง ตารางที่ 2 แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร แหล่งที่มาของวัตถุดิบ จำนวน ร้อยละ ประเภทของวัตถุดิบที่ซื้อ ตลาด 18 94.7
ร้านค้าในชุมชน 2 10.5
รถเร่/รถพุ่มพวง 0 0
ผู้ผลิต (เกษตรกร) 1 5.3

พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการอาหาร ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ปรุงอาหารจำแนกตามความถี่ของการปฏิบัติด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยของอาหาร พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของผู้ตอบ หมายเหตุ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ประจำปฏิบัติ
การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 1 ท่านเลือกซื้อวัตถุดิบอาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ในการประกอบอาหาร สดใหม่ (ประกอบอาหารหมดภายใน 1-2 วัน) 0 0 100 2 ท่านซื้อวัตถุดิบประเภทผักสด ผลไม้ จากร้านที่ได้รับมาตรฐานอาหารปลอดภัย เช่น แหล่งการผลิตหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Q Organic) คุณภาพทางการเกษตร GAP ระบบประกันคุณภาพในระดับท้องถิ่น (PGS) 0 5.3 94.7
3 ท่านซื้อวัตถุดิบอาหารสดประเภทผัก ผลไม้ จากเกษตรกรโดยตรง 0 33.3 66.7
4 ท่านซื้ออาหารทะเล เช่น ปลา กุ้ง หอย ปลาหมึก จากผู้ขายที่มั่นใจว่าไม่มีการใส่สารปนเปื้อนในอาหารทะเล 0 0 100 5 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในตู้เย็นตามอุณหภูมิที่เหมาะสมแต่ละประเภทของวัตถุดิบ 0 0 100 6 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในถังน้ำแข็ง/ ภาชนะอื่นๆ 0 0 100 7 ท่านดูวันหมดอายุที่ฉลากสินค้าก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ 0 0 100 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์)
8 ท่านรักษาความสะอาด (ไม่มีคราบเศษอาหารหรือคราบสกปรก) สถานที่ในการปรุงอาหาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 0 0 100 9 ท่านปรุงอาหารในสถานที่ที่มีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมระบายอากาศ 0 0 100 10 ท่านทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารด้วยวิธีการ กวาด ถู เช็ด ทุกวันก่อนหรือหลังที่จะทำอาหาร 0 0 100 11 ท่านมีการจัดวัสดุอุปกรณ์ ของใช้ในครัวเป็นระเบียบ เรียบร้อย และจัดเป็นสัดส่วน 0 0 100 12 ท่านใช้น้ำยาล้างจานในการทำความสะอาดภาชนะและล้างด้วยน้ำเปล่า 2 ครั้ง 0 0 100 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 13 ท่านเตรียมวัตถุดิบอาหารหรือวางภาชนะที่ใส่อาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 0 0 100 14 ท่านมีการแยกวัตถุดิบระหว่างอาหารสด อาหารแห้งและอาหารปรุงสำเร็จเพื่อเตรียมปรุงอาหาร 0 0 100 15 ท่านทำความสะอาดผัก ผลไม้ ด้วยวิธีการ ปลอดภัย เช่น ล้างด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านก่อนที่จะนำมาปรุงอาหาร/การใช้เบคกิ้งโซดา 0 0 100 16 ท่านล้างวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้รวมกันในครั้งเดียว 100 0 0
17 ท่านใช้เขียงอาหารดิบและอาหารสุกร่วมกันในการประกอบอาหาร 94.7 5.3 0
18 ท่านใช้น้ำมันเก่าผสมกับน้ำมันใหม่ในการปรุงอาหาร 100 0 0
19 ท่านดูแลความสะอาดของร่างกาย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้าสะอาด สวมหน้ากากอนามัย สวมถุงมือ หมวก และผ้ากันเปื้อนที่สะอาด 0 0 100 20 ท่านมีการล้างมือด้วยสบู่/ เจลแอลกอฮอล์ ก่อนสัมผัสอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ ในการเตรียม ปรุง จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร 0 0 100 21 ท่านมีการใช้ประโยชน์จากอาหารเหลือทิ้งด้วยการเป็นอาหารสัตว์ หรือปุ๋ยหมัก 0 26.3 73.7
22 ท่านจัดการของเสียจากกระบวนการอาหารกลางวัน เช่นน้ำมันทอดซ้ำ น้ำล้างวัตถุดิบ เศษอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล 0 5.3 94.7
การขนส่ง 23 ท่านมีการจัดส่งอาหารไปสู่ผู้บริโภค โดยไม่มีฝาปิดให้มิดชิด 100 0 0
2.24 เมื่อท่านจัดทำอาหารปรุงสำเร็จพร้อมบริโภค มีการเก็บแยกเป็นสัดส่วน ปกปิดและไม่วางบนพื้น 0 0 100 25 ท่านให้ผู้บริโภคหยิบอาหารได้ตามใจชอบ และสามารถใช้มือหยิบในภาชนะได้เลย 100 0 0
26 ท่านดูแลรักษาความสะอาดของพื้นที่ บริการอาหาร/เสิร์ฟอาหาร ที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนสู่อาหารได้ 0 0 100 27 ท่านนำภาชนะที่เคยบรรจุสารเคมีมาใช้บรรจุอาหาร เช่น ถังสี/ถังน้ำมัน 100 0 0
28 ท่านมีการปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น ตัดเล็บ ความสะอาดของเสื้อผ้า ไม่ไอหรือจามรดอาหาร 0 0 100   ตารางที่ 4 ระดับคะแนนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารในด้านต่าง ๆ ของผู้ปรุงประกอบอาหาร ความปลอดภัยในอาหารด้านต่าง ๆ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 21 20.6 0.6 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์) 15 15.0 0.0 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 30 29.6 0.6 การขนส่ง 18 18.0 0.0 รวมทั้งหมด 84 83.2 1.2

สรุปผลกระบวนการเรียนรู้ของแกนนำชุมชนใช้เครื่องมือพัฒนานโยบายสาธารณะ
ประเด็นระบบอาหารและโภชนาการ จ.ปัตตานี ตำบลสุคิริน จ.นราธิวาส และเทศบาลตำบลปริก รอบที่ 1 วันที่ 22-23 เมษายน 2567 ณ โรงแรมซีเอส ปัตตานี รพ.สต. ……ควน...… อำเภอ……....…ปะนาเระ……....…จังหวัด………………ปัตตานี…………….

ลำดับที่ ผลการเรียนรู้การใช้เครื่องมือ เครื่องมือ 1: Systems Map เพื่อให้เห็นระบบอาหารของพื้นที่ เครื่องมือ 2: Problem Statement
เพื่อระบุประเด็น (ใคร มีปัญหาอะไร เพราะอะไร หา insights) เครื่องมือ 3:
How might we?
ฝึกตั้งคำถามเพื่อมองโจทย์ในมุมใหม่ ๆ เครื่องมือ 4:
Ideation – Idea flower ร่างโครงการ วันที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนระบบ 1.ห่วงโซ่อุปทานอาหาร - ตลาดสด/ตลาดนัด - ร้านขายของชำ - รถเร่ขายตามบ้าน - ชาวบ้านมาขายตามบ้าน - มีการผลิตอาหารเอง เช่น ปลูกผัก,เลี้ยงปลา,เลี้ยงไก่ - ซื้อตามห้างบิ๊กซี - การซื้อวัตถุดิบตามยแหล่งผลิต - การหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหารธรรมชาติ

2.ปัจจัยแวดล้อม - ซื้อตามโฆษณา/Facebook - ซื้อตามคำบอกเล่าต่างๆของเพื่อนบ้าน/ที่ทำงาน - ตามความสะดวก แม่ค้าสามารถส่งถึงที่ได้ - ความสะอาดของแม้ค้า - วัตถุดิบที่ซื้อมาประกอบอาหาร - ผลิตภัณฑ์/ภาพลักษณ์ของอาหาร - เด็กอยากกินตามเพื่อน - เด็กอยากกินตามสื่อที่เห็น เช่น ทีวี ยูทูป เป็นต้น - ต้องมีความมั่นใจว่าไม่มีสารพิษ ยาฆ่าแมลง

3.ปัจจัยระดับครัวเรือน/ชุมชน/ร.ร./ศพด. - รายได้ในการซื้อ - เลือกอาหารที่ลูกชอบกิน - ต้องมีความสด/ความสะอาด - แหล่งซื้อวัตถุดิบ - ความต้องการของเด็ก - ประโยชน์ของอาหาร - พ่อแม่รีบไปทำงาน - ลูกหลายคน - ซื้ออาหารที่ร้ายค้าปรุงสะอาด/ราคาย่อมเยา

4.พฤติกรรมการจัดการอาหารของครู/แม่ครัว/ผู้ปกครอง - ผู้ปกครองไม่มีเวลา ซื้อแกงถุงตามตลาดนัดใกล้บ้าน - ผู้ปกครองซื้อตามที่ลูกอยากกิน/ลูกชอบ - ผู้ปกครองทำอาหารเองเป็นบ้างครั้งจำพวก ทอด/ผัด - ผู้ปกครองทำอาหารกันเองทุกมื้อ - ครู/แม่ครัวทำอาหารมีความหลากหลาย - ครู/แม่ครัวเน้นทำอาหารที่มีประโยชน์ - ครู/แม่ครัวทำอาหารเมนูที่เด็กต้องการ - ครู/แม่ครัวทำอาหารตามงบประมาร

5.อาหารที่รับประทาน - มื้อเช้า   1.)ข้าว+ไข่ดาว/ไข่ต้ม   2.)โรตี   3.)ซีเรียล+นมสด   4.)ข้าวต้ม/โจ๊ก   5.)ข้าวเหนียวไก่ทอด   6.)ผลไม้   7.)ขนมโตเกียว   8.)นม/น้ำเต้าหู้/โยเกิร์ต   9.)ซาลาเปา   10.)ขนมปัง/แซนวิช
-มื้อกลางวัน   1.)ข้าว   2.)ไข่เจียว/ไข่ดาว   3.)ข้าวแกง   4.)ผลไม้   5.)น้ำหวาน   6.)ขนมขบเคี้ยว -มื้อเย็น   1.)ข้าว+แกงจืด/แกง   2.)ก๋วยเตี๋ยว   3.)มาม่าผัด   4.)ข้าวต้มทรงเครื่อง   5.)ข้าวเหนียวไก่ทอด   6.)ผลไม้   7.)นม/น้ำเต้าหู้/โยเกิร์ต
- มื้ออาหารว่าง   1.)นมกล่อง   2.)ขนมขบเคี้ยว   3.)ไอติม
  4.)โดนัท/เค้ก   5.)เมนูทอด เช่น ลูกชิ้น
  6.)เบอร์เกอร์   7.)ขนมปัง   8.)เยลลี่   9.)ไส้กรอก   10.)นมเปรี้ยว ใคร = เด็ก ปัญหา = ไม่อยากกินอาหารที่พ่อแม่ทำ เพราะอะไร = เด็กอยากกินอาหารกึ่งสำเร็จรูป เช่น ไส้กรอก

ใคร = ผู้ปกครอง ปัญหา = การจัดสรรเวลาในการทำอาหารในเด็ก เพราะอะไร = เนื่องจากเร่งรีบไปทำงาน ทำให้มีการกินอาหารที่หาซื้อได้ง่าย กินง่าย ทำง่าย สะดวกในเวลาเร่งรีบและมีเวลาจำกัด

ใคร = พ่อแม่-คนดูแล ปัญหา = ไม่มีเวลาทำอาหาร เพราะอะไร = มีความรู้และเข้าใจในอาหารเพียงแต่ไม่มีเวลาไม่มาก ไม่สะดวก ต้องรีบไปทำงาน

ใคร = ผู้ปกครอง ปัญหา = มีรายได้น้อยและคิดว่ากินอะไรก็ได้ที่กินแล้วอิ่ม เพราะอะไร = เพราะผู้ปกตรองมีความรู้แต่ไม่สามารถทำตามได้

ใคร = เด็ก ปัญหา = เด็กชอบกินอาหารจุกจิก ทำให้ขาดสารอาหาร กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่

เพราะอะไร = เด็กชอบกินอาหารจุกจิก กินของทอด กินขนมขบเคี้ยว กินน้ำหวาน ไม่ชอบกินผัก

- เราจะทำอย่างไรไม่ให้เด็กไปทานอาหารกึ่งสำเร็จรูป

- เราจะทำอย่างไรให้ผู้ปกครองมีเวลาในการจัดสรรเวลา เตรียมวัตถุดิบในการทำอาหารให้เด็กไว้ตั้งแต่ช่วงกลางคืน - ทำอย่างไรให้ผู้ปกครองมีเวลา - ทำไมไม่มีเวลา   1.)ตื่นสาย   2.)มีลูกเยอะ   3.)เอาเวลาไปปเล่นโทรศัพท์   4.)ต้องเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปกครองเรื่องการบริหารเวลา - บอกข้อเสียของอาหารกึ่งสำเร็จรูป - เราจะนำความรู้ไปใช้กับชุมชนได้อย่างไร

- อยากให้เด็กๆได้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่

- ผู้ปกครองสามารถทำอาหารครบ 5 หมู่ ได้หรือไม่ - เราจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไร - เราควรนำความรู้ที่ได้ไปบอกชาวบ้านในไลน์กลุ่ม

ชุมชน - มีการจัดรูปแบบอาหาร - ทำคลิปสั้นๆสอนทำอาหารให้ครบ 5 หมู่ - ทำเป็นโมเดลการ์ตูนอาหารให้เด็กได้ร่วมทำกิจกรรม - ส่งกลุ่มไลน์ในชุมชนถึงวิธีการทำอาหาร - ให้เด็กมาทำกิจกรรมทำขนม/อาหารร่วมกับผู้ปกครอง - ชุมชนมีการจัดกิจกรรมแข่นขันสุขภาพเด็กดีกับเมนูอาหารครบ 5 หมู่ - การจัดสรรเวลาการเรียนรู้ ไอเดียผู้สูงอายุ -ปลูกผัก,เลี้ยงไก่,เลี้ยงปลาให้เด็ก


ทำได้เลย - เล่าเรื่องการกินผักทำให้ร้างกายแข็งแรง สุขภาพดี - ทำเกมส์เป็นแบบการลงมือทำอาหารให้เด็กๆได้เลือกทำเลือกปรุงได้

วันที่ 2 โภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
การเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ - มีตลาดใหญ่ - มีความมั่นคงในการซื้อ-ขาย นโยบาล มาตรการ กฎหมาย - มีการปลูกผักเคมี เพื่อบริโภค

การเติบโตของประชากรและการย้ายถิ่น - ไม่มีผลต่อการบริโภคอาหาร

ความเป็นเมือง - มี 7-11 ตั้ง 2 แห่ง บริบททางสังคม-วัฒนธรรม - กินอาหารที่มีรส หวาน มัน เค็ม

ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนระบบ 1.ห่วงโซ่อุปทานอาหาร - ชาวบ้านปลูกผัก,ปลูกข้าว - หาปลากินเองตามหมู่บ้าน - มีการสั่งซื้ออาหารที่ครบ 5 หมู่ - มีการทำอาหารกินเอง - อาหารสำเร็จรูป - สิ่งค้าที่นำมาขายมาจากตลาดกลาง - มีการผลิตอาหารเอง เช่น ปลูกผัก,เลี้ยงปลา,เลี้ยงไก่ เพื่อกินและขาย 2.ปัจจัยแวดล้อม - อาหารบางอย่าง เป็นอาหารแช่แข็ง (ไม่สด) เพราะราคาถูก - หาซื้อง่าย - มีบริการส่งถึงบ้าน - มีรายได้น้อย - ไม่มีเวลาในการทำอาหาร - สะดวกในการซื้อ - โซเซียล/สื่อ ที่ใช้โฆษณาอาหาร - รูปแบบของอาหารเป็นสิ่งล่อให้เด็กอยากกิน - มีตลาดนัดเกือบทุกวันมีแต่อาหารไม่มีประโยชน์ มีขนมที่เด็กๆชอบกิน - มีรถฟาร์มขายผักปลอดกสารพิษในชุมชน

3.ปัจจัยระดับครัวเรือน/ชุมชน/ร.ร./ศพด. - ไม่มีเวลาเตรียมทำอาหาร
- เด็กเรียกร้องสิ่งที่อยากกิน - ความรู้ ความเข้าใจของพ่อแม่ - เวลากับรายได้ที่ไม่สามารถทำได้ - ขี้เกียจ เน้นความสะดวก - รายได้น้อย ไม่สามารถทำอาหารที่ครบ 5 หมู่ได้ - การศึกษา - ความเคยชินของผู้ปกครอง  ความสะดวกสบายของพ่อแม่

4.พฤติกรรมการจัดการอาหารของครู/แม่ครัว - ซื้อตามร้านค้าในชุมชน - สั่งอาหารจากร้านค้าประจำ - เด็กๆชอบทายอาหารจากเซเว่น - พ่อแม่ไม่ได้คำนึงถึงสารอาหารให้ครบ ขอให้เด็กอิ่มก็เพียงพอ - กินอาหารจำเจ - เก็บอาหารที่เหลือใช้กินมื้อต่อไป - ซื้ออาหารจาก 7-11 / ร้านขายของชำ/ ซุปเปอร์มาร์เก็ต - เด็กทานขนมหวาน/น้ำหวาน - เด็กเบื่ออาหารไม่ค่อยทานข้าวเป็นเวลา

5.อาหารที่เด็ก 0-5 ปี - มื้อเช้า   1.)ข้าวต้ม/โจ๊ก   2.)นม   3.)ข้าวเหนี่ยวไก่ทอด   4.)ข้าวหมก   5.)ไข่ตุ๋น   6.)ข้าวยำ   7.)โรตี   8.)ไส้กรอก   9.)ไข่ดาว   10.)ขนมจีบ   11.)ซาลาเปา -มื้อกลางวัน   1.)พ่อแม่ ปรุงเองที่บ้านเอง   2.)พ่อแม่ พาไปซื้อของใน 7-11   3.)เด็กทานอาหารที่ร.ร0.เตรียมให้   4.)ข้าวหมก   5.)ข้าวผัด   6.)ข้าวแกง

-มื้อเย็น   1.)พ่อแม่ ปรุงเองที่บ้านเอง   2.)อาหารปรุงสำเร็จ(แกงถุง)   3.)ข้าวผักไก่/ไข่   4.)ข้าวแกงจืด   5.)ข้าวสวยปลากะพง   6.)ข้าวเหนี่ยวไก่ทอด   7.)ข้าวหมก   8.)ข้าวปลาทอด   9.)ข้าวต้มไข่เจียว/ไข่ดาว   10.)ผัดผักบุ้ง   11.)สุกี้   12.)บะหมี่น้ำ - มื้ออาหารว่าง   1.)ไส้กรอก   2.)ขนมกรุบกรอบ   3.)ลูกอม   4.)โอรีโอ้   5.)นมเปรี้ยว   6.)สาหร่าย   7.)โยเกิร์ต   8.)นักเก็ตไก่
ใคร = เด็ก ปัญหา = ขาดสารอาหารและเจริญเติบโตช้า เพราะอะไร = เด็กไม่ยอมทานอาหารสิ่งที่เตรียมไว้ให้

ใคร = เด็ก ปัญหา = ชอบเล่นเกมส์/ติกมือถือ เพราะอะไร = เด็กไม่ได้รับความสนใจและเด็กไม่ได้อยู่กับพ่อแม่และเด็กบางคนอยู่กับปู่ยาตายาย ทำให้ไม่ได้รับความใส่ใจเท่าที่ควรด้วนเวลาและอายุ


ใคร = ผู้ปกครอง ปัญหา = ไม่มีเวลาทำอาหาร เพราะอะไร = เนื่องจากเร่งรีบไปทำงานประจำ ไม่มีเวลามากพอที่จะทำอาหาร

ใคร = พ่อแม่ ปัญหา = ขาดความรู้ทางด้านโภชนาการและความตะหนักในการดูแลเรื่องอาหารให้ลูก เพราะอะไร = มีเงินแต่ขาดความตระหนักเรื่องอาหาร และเอาแต่ความสะดวกเป้นหลัก

ใคร = สื่อโฆษณา ปัญหา = ทำให้เด็กอยากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ (มาม่า,น้ำอัดลม) เพราะอะไร = เพราะเห็นโฆษณาในทีวี


ใคร = พ่อแม่ ปัญหา = เด็กขาดสารอาหารเพราะกินตามมีตามเกิด เพราะอะไร = เพราะพ่อแม่แยกทางกันทำให้ขาดการดูแล

ใคร = ผู้ปกครอง ปัญหา = เด็กกินอาหารกึ่งสำเร็จรูป ทำให้ขาดสารอาหาร กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ เพราะอะไร = ผู้ปกครองตื่นสาย ทำให้ไม่มีเวลาในการทำอาหาร

ใคร = พ่อแม่ ปัญหา = มีรายได้ไม่เพียงพอทำให้ได้รับ่ารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ เพราะอะไร = รายได้ไม่เพียงพอต่อการซื้ออาหาร - เราจะทำอย่างไรเด็กให้ได้รับอาหารครบ 5 หมู่ - เราจะทำอย่างไรให้ผู้ปกครองตระหนักถึงเรื่องการทำอาหารของเด็กให้ครบ 5 หมู่ - ทำอย่างไร ทำให้ผู้ปกครอง/พ่อแม่ เห็นถึงโทษหรือปัญหาทางสุขภาพของเด็กที่ขาดสารอาหาร - ทำอย่างไรให้พ่อแม่มีความรับผิดชอบมากขึ้น - ทำอย่างไรให้ผู้ปกครองได้คิดเมนูที่เด็กๆชอบและมีประโยชน์ -จะทำอย่างไรให้พ่อแม่มีจิตสำนึกในการทำอาหารให้ลูกกิน - เราจะทำอย่างไรให้ผู้ปกครองมีความสุขกับการทำอาหารอยากทำกินเองทุกมื้อ -เราจะทำอย่างไรให้เด็กอยากทานอาหารที่เราทำ - ทำอย่างไรให้เด็กให้ได้รับอาหารครบ 5 หมู่

ทำได้เลย - คิดเมนูอาหารสำหรับเด็ก

ไม่ใช้งบประมาณ - ปลูกผัก/ผลไม้กินเอง - ลงมือทำอาหารเองจากวัตถุดิบในบ้านที่มีอยู่

ไอเดียรักษ์โลก - มีส่วนร่วมในการปลูกผักและเลี้ยงสัตว์

ที่ทำกันเป็นปกติในการแก้ปัญหานี้ - อบรมให้ความรู้ - จัดหาบุคลากรที่มีความรู้ลงพื้นที่ให้ความรู้

ภาคธระกิจมีส่วนร่วม - การทำแปรรูปอาหารเพิ่มมากขึ้น เช่น ไอติมผลไม้ - ร้านค้าจัดหมวดหมู่เมนูที่เหมาะสมกับเด็กมากขึ้น

มิติทางศาสนา - ความเชื้อด้านอาหารในชุมชน - ให้ผู้นำให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองด้านอาหารสำหรับเด็ก

กระแสออนไลน์ - ทำคลิปสั้นๆถึงขั้นตอนการทำอาหารและให้เด็กๆมีส่วนร่วมในการทำอาหาร – คลิปสั้นๆเกี่ยวกับการ์ตูนเชินชวนทานอาหารให้ครบ 5 หมู่

ไอเดียที่มี Story - เล่านิทาน เช่นเรื่อง ป๊อปอายกินผักขมแล้วแข็งแรง

ชุมชนมีส่วนร่วม - ส่งเสริมให้ทุกบ้านปลูกผักกินเอง - ส่งเสริมให้มีการเลี้ยงไก่,เลี้ยงเป็ด,เลี้ยงปลา

ไอเดียจากเกมส์ - เกมส์จับคู่อาหารที่มีประโยชน์และอาหารที่ไม่มีประโยชน์
ไอเดีย AI - ใช้ AI ทำตัวอย่างกินผักให้เด็กดู

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปกิจกรรมประชุมตำบลควน วันที่24พฤษภาคม 2567
สถานที่ อบต.ควน เนื่องจากทางต.ควน ได้เห็นความสำคัญของเด็กวัย 0-5 ปีที่กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ต่อวันและเด็กไม่รับประทานผักจึงได้คิดทำโครงการต่างๆเกิดขึ้น โดยการการประชุมมีผู้เข้าร่วมประชุม ตัวแทน รพ.สต.ควน -นายกอบต.ควน -อสม. -ผู้ใหญ่บ้าน -ผู้ปกครอง -อบต.ควน -โรงเรียนวัดควน มีการระดมความคิดเพิ่มเติมถึงกิจกรรมที่อยากให้เกิดขึ้นในชุมชน • ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี 0-5 ปี • กิจกรรมรณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ • จัดประกวดการประกอบอาหารของผู้ปกครอง • กิจกรรมกินผักดีมีรางวัล • จัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อเพิ่มศักยภาพให้เด็กปฐมวัย • จัดทำคลิปประกอบอาหารที่ครบ 5 หมู่ให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้ • จัดกิจกรรมประกวดอาหารเกี่ยวกับผักให้ผู้ปกครองและเด็กทำร่วมกัน • ให้ความรู้เรื่อง ผักดีๆผักบ้านๆมีประโยชน์ • แปรรูปผักให้เป็นอาหารที่เด็กชอบกิน • จัดทำนิทานเช่นป๊อปอายกินผักโขมแล้วแข็งแรง • จัดฝึกอบรมการทำอาหารของเด็กๆช่วงปิดเทอม • ประชาสัมพันธ์กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ควบคู่กับการออกกำลังกาย • ตรวจเช็คถาดอาหารของเด็กว่าอันไหนเด็กกินหรือไม่กิน กิจกรรมที่เคยจัด ใน ศพด.คือให้ผู้ปกครองและเด็กมาทำอาหารและรับประทานร่วมกัน
โรงเรียนวัดควนไม่ขายอาหารที่ไม่มีประโยชน์ การระดมความคิดชื่อโครงการ • โครงการให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก 0-5 ปี • โครงการกินได้อาหารอร่อยปลอดภัย • โครงการพัฒนาเด็กในชุมชนให้ห่างไกลอาหารสำเร็จรูป • โครงการ 5 หมู่สดใสใส่ใจเด็กกำลังโต • โครงการ ซุปเปอร์เชฟ ตำบลควน • โครงการเติบโตสมวัยพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี • โครงการกินดีอยู่ดีสุขภาพแข็งแรง • โครงการเสริมสร้างศักยภาพทางด้านอาหารเด็กในวัย 1-5 ปี • โครงการอบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับการกินอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ • โครงการอาหารดีมีประโยชน์ • โครงการอาหารดีสุขภาพสมบูรณ์ • โครงการอาหารดีควบครอบครัวดีสู่เด็กวัย 0-5 ปี • โครงการอาหารตามวัย 0-5 ปี • โครงการอาหารสุขใหม่ไม่เกิดพยาธิ • โครงการถูกหลักถูกใจอาหารถูกหลักอนามัยเด็ก 0-5 ปี • โครงการอาหารดีกินผักปลอดสารพิษ กลุ่มเป้าหมาย • ผู้ปกครอง • เด็ก 0 ถึง 5 ปี • ผู้นำชุมชน • คนในชุมชน จากจากการดูวีดีทัศน์ของการจัดการอาหารของเด็กนักเรียนญี่ปุ่นผู้เข้าร่วมอบรมได้ความรู้ดังนี้ • ได้เห็นถึงการรับผิดชอบของเด็ก • เด็กเกิดประสบการณ์เรียนรู้โดยตรงในเรื่องทักษะการใช้ชีวิต • เด็กฝึกช่วยเหลือตนเองในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น • ได้รู้ถึงวิถีการดำเนินชีวิตของเด็กช่วงอยู่ในโรงเรียน • ได้เห็นถึงการปรุงอาหารที่สะอาดและอุปกรณ์ในการทำอาหารที่ถูกสุขลักษณะ • มีการจัดรูปแบบอาหารอย่างมีระเบียบเรียบร้อย • มีการจัดการอย่างถูกวิธีถูกหลักอนามัยและเห็นถึงการมีส่วนร่วมความสามัคคี • เด็กได้มีการทำงานที่มีความรับผิดชอบร่วมกับผู้อื่น • ฝึกการอยู่ร่วมกัน • ได้รู้ถึงการมีส่วนร่วมกันในการใช้ชีวิตประจำวันของเด็ก

ความรู้สึก /ข้อแนะนำ จากการมาประชุมครั้งนี้ • ได้รู้ถึงการทำโครงการและการของบประมาณในการช่วยเหลือสนับสนุนในชุมชน • ได้นำความรู้ไปใช้ในชุมชนต่อไปและชาวบ้านได้รับรู้วิธีการทำอาหารอย่างถูกวิธี • อยากให้โครงการนี้มีการพัฒนาในลำดับต่อไป • ได้รับข้อมูลของพื้นที่ • ได้ความรู้ในการหาอาหารให้เด็ก 0-5 ปี • สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นในของคนในชุมชน