การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดปัตตานี

การประชุมพัฒนาโครงการฉบับบย่อประเด็นอาหารและโภชนาการ รพ.สต.บางโกระ23 พฤษภาคม 2567
23
พฤษภาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Yadaporn Yimkaew
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

.ผลการสำรวจสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของครัวเรือน
ในพื้นที่ ตำบล  บางโกระ  อำเภอ โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (n = 146) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 10 6.8 หญิง 132 90.4 อายุ (ปี) (mean+SD) 44.6+13.5 ระดับการศึกษา ไม่ได้ศึกษา 4 2.8 ประถมศึกษา 61 42.1 มัธยมศึกษา/ปวช. 37 25.5 อนุปริญญา/ปวส. 13 9.0 ปริญญาตรี 24 16.6 สูงกว่าปริญญาตรี 6 4.1 รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือน
น้อยกว่า 5000 บาท 12 8.3 5001 – 10000 บาท 35 24.1 10001 – 15000 บาท 57 39.3 15001 – 20000 บาท 27 18.6 20001 – 25000 บาท 6 4.1 25001 – 30000 บาท 4 2.8 มากกว่า 30000 บาท 4 2.8 จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (คน)  (mean+SD) 5.5+2.4 อาชีพ รับจ้าง 34 23.9 รับราชการ 7 4.9 เกษตรกรรม 15 10.6 ธุรกิจส่วนตัว 7 4.9 ทำอาชีพมากว่า 1 อาชีพ 74 52.1 อื่น ๆ 11 7.7 วิธีการได้มาซึ่งอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 2 รูปแบบการได้มาซึ่งอาหารในครัวเรือน (n = 142) รูปแบบการได้มาซึ่งอาหาร จำนวนครัวเรือน (ร้อยละ) หมายเหตุ ผลิตอาหารเอง 91(64.1) เหตุผลที่ไม่ได้ผลิตอาหารเอง 1.ไม่มีปัจจัยการผลิต ร้อยละ 67.6 2.ไม่มีองค์ความรู้ ร้อยละ 8.1 3.ดิน น้ำไม่เหมาะกับการผลิต  ร้อยละ 16.2 รูปแบบการเกษตร 1. แบบอินทรีย์  ร้อยละ 7.9 2.แบบปลอดภัย ร้อยละ 51.7 3.แบบอื่น ๆ  ร้อยละ 40.4 - การเพาะปลูก
- ปศุสัตว์ 37 (38.9)
- เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด 4 (4.3) - เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม 0 (0)
ความพอเพียงของอาหารที่ผลิตในครัวเรือน
- พอเพียง 80 (83.3)
- ไม่พอ 16 (16.7)
หาจากธรรมชาติ 58 (42.3) หาจากแหล่ง ….

  สถานการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ตารางที่ 3 ร้อยละของครัวเรือนจำแนกตามระดับความไม่มั่นคงทางอาหารที่เกิดขึ้นใน 1 เดือนที่ผ่านมา (n = ) เหตุการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร ไม่เคยเกิดขึ้น น้อยครั้ง (1-2 ครั้ง) บางครั้ง (3-10 ครั้ง) บ่อยมาก (>10ครั้ง) เฉลี่ยคะแนน 1 ท่านกังวล ว่าจะไม่มีเงินซื้ออาหารกินอย่างเพียงพอ 77.5 12.3 7.2 2.9 1.4+0.7 2 ท่านไม่สามารถหาอาหารที่ครบ 5 หมู่ (ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน/ไขมัน) เพียงพอสำหรับการบริโภคเพราะมีเงินหรือทรัพยากรไม่พอ 80.7 10.3 7.6 1.4 1.3+0.7 3 ท่านกินอาหารเพียงไม่กี่ชนิด (มีกิน แต่กินซ้ำๆ เดิม ๆ ไม่มีคุณภาพ) เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 84.2 12.3 2.7 0.7 1.2+0.5 4 ท่านต้องอดอาหารบางมื้อหรือกินบางมื้อน้อยลง เพราะเงินไม่พอหรือขาดทรัพยากรอื่นๆ ที่จะได้รับอาหาร (อดมื้อกินมื้อเพราะเงินไม่พอ) ไม่นับการถือศีลอด 93.2 4.8 2.1 0 1.1+0.4 5 ท่านรู้สึกหิวแต่ไม่ได้กิน เพราะเงินไม่พอ หรือขาดทรัพยากรอื่น ๆ สำหรับอาหาร 95.2 2.7 2.1 0 1.1+0.3 6 เคยมีช่วงเวลาที่ท่าน ไม่ได้กินอาหารเลยทั้งวันเพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่นๆ 97.3 2.7 0 0 1.0+0.2 7 ท่านได้รับการบริจาค การช่วยเหลือด้านอาหารจากหน่วยงาน เพื่อนบ้าน หรือองค์กร 80.8 15.1 3.4 0.7 1.2+0.5 8 ครัวเรือนของท่าน ขาดแคลนอาหารหรือไม่มีอาหารที่จะกินเลย เพราะขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 95.9 2.1 2.1 0 1.1+0.3 9 ครัวเรือนของท่านมีอาหารกินไม่เพียงพอสำหรับสมาชิกในครอบครัวครบ ทั้ง 3 มื้อ 95.2 2.7 2.1 0 1.1+0.3 10 อาหารที่มีในครัวเรือน ของท่านเป็นอาหารที่มีครบ 5 หมู่ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำมัน) 70.1 5.6 11.1 13.2 3.3+1.1

  ตารางที่ 4 การเตรียมความพร้อมของครัวเรือนเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติที่ผ่านมา การเตรียมพร้อม จำนวน (ครัวเรือน) ร้อยละ มีการเตรียมการ 53 39.0 ไม่มีการเตรียมการ 83 61.0

ความรอบรู้ทางอาหารของครัวเรือน ตารางที่ 5 จำนวน และ ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรอบรู้ในแต่ละประเด็น ประเด็นความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ จำนวน ร้อยละ ด้านการวางแผนและจัดการ
1 ท่านจะเอาเงินไว้สำหรับซื้ออาหารให้เพียงพอก่อนการใช้จ่ายซื้อสิ่งอื่น เช่น เครื่องประดับ เสื้อผ้า ของเล่นให้ลูก 139 95.2 2 ท่านจะคิดรายการอาหารที่จะกินไว้ล่วงหน้าเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถจะหาอาหารได้เพียงพอตามต้องการ แม้ในสภาวะที่สถานการณ์อาหารเปลี่ยนไป 99 67.8 3 ท่านตัดสินใจเลือกอาหารโดยดูจากความคุ้มค่า (มีประโยชน์ต่อร่างกาย) คุ้มราคา (เหมาะกับเงินที่มี) หรือ สะดวกในการจัดเตรียมหรือปรุง 145 99.3 ด้านการเลือกอาหาร
4 ท่านหาอาหารได้จากแหล่งต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ซื้อจากตลาด เพื่อนบ้าน ปลูก/หาได้เอง 145 99.3 5 ท่านจะอ่านฉลากเพื่อดูว่าอาหารประกอบด้วยอะไร เก็บรักษาแบบไหน และจะกินอย่างไร 141 97.2 6 ท่านจะสอบถามข้อมูลจากผู้ขายถึงแหล่งที่มา วิธีการกิน การเก็บรักษาเพื่อให้จัดการให้เหมาะสม 134 91.8 7 ท่านบอกได้ว่า อาหารชนิดใดดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพ เมื่อทราบแหล่งที่มา หรือแหล่งผลิตอาหาร หรือองค์ประกอบ หรือจากการอ่านฉลากอาหาร 136 93.2 ด้านการเตรียมอาหาร
8 ท่านทำอาหารทานได้ไม่ว่าวัตถุดิบที่มีจะเป็นอะไร ด้วยอุปกรณ์เครื่องครัวเท่าที่มี 109 74.7 9 ท่านล้างมือทุกครั้งก่อนเตรียมอาหาร 144 99.3 10 ท่านล้างผักและเนื้อสัตว์โดยใช้น้ำไหลผ่านอย่างทั่วถึง 143 99.3 11 ท่านเก็บอาหารที่ทานไม่หมดไว้ในที่มิดชิด เช่น ตู้กับข้าว ครอบฝาชี หรือใส่ภาชนะที่มีฝาปิด 142 100 12 เมื่อกินอาหารกระป๋อง ท่านจะอุ่นทั้งกระป๋อง 121 82.9 ด้านการรับประทานอาหาร
13 ท่านรู้ว่าเด็กที่เตี้ยเป็นผลจากการกินอาหารไม่ครบถ้วน หรือกินอาหารไม่พอ 88 60.3 14 ท่านจะกินอาหารที่มีรสหวาน หรือมัน หรือเค็ม เป็นประจำ 97 66.4 15 ท่านคุมปริมาณอาหารเพื่อรักษาน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป 81 55.9 16 ท่านใส่ใจกับการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน 136 93.2

ตารางที่ 6 คะแนนระดับความรอบรู้ทางอาหารในแต่ละด้าน ของครัวเรือน (n =  ) องค์ประกอบความรอบรู้ด้านอาหาร คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวางแผนและจัดการ 3 2.6 0.6 การเลือกอาหาร 4 3.8 0.5 การเตรียมอาหาร 5 4.5 0.7 การรับประทานอาหาร 4 2.8 0.8 คะแนนรวม 16 13.7 1.7

ผลการสำรวจความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยของผู้ปรุงประกอบอาหาร
ในพื้นที่ ตำบลบางโกระ    อำเภอโคกโพธิ์      จ.ปัตตานี ตารางที่ 1 คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา (n =21) คุณลักษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 4 19.0 หญิง 17 81.0 อายุ (ปี) (mean + SD) 52.2+15.8 ศาสนา อิสลาม 11 52.4 พุทธ 12 47.6 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 10 47.6 มัธยมศึกษา/ปวช. 8 38.1 อนุปริญญา/ ปวส. 2 9.5 ปริญญาตรี 1 4.8 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 5000 บาท 2 9.5 5001 – 10000 บาท 11 52.4 10001 – 15000 บาท 6 28.6 15001 – 20000 บาท 2 9.5 ลักษณะสถานบริการอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน 1 5.0 โรงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 5.0 ร้านอาหารที่มีอาคาร สถานที่แน่นอน 5 25.0 แผงลอย/เพิงขายอาหาร (ประกอบอาหารที่แผงร้านค้า) 6 30.0 แผงลอย/เพิงขายอาหารปรุงสำเร็จ (ประกอบอาหารจากที่อื่น) 6 30.0 อื่น ๆ 1 5.0 บทบาทในการประกอบอาหาร ผู้จัดหาวัตถุดิบ/เครื่องปรุง 8 38.1 แม่ครัว/ผู้ประกอบอาหาร 19 90.5 ผู้กำหนดเมนู/รายการอาหาร 5 23.8 ประสบการณ์การทำงาน (ปี) (mean + SD) 5.2+4.2

การจัดหาวัตถุดิบและเครื่องปรุง ตารางที่ 2 แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร แหล่งที่มาของวัตถุดิบ จำนวน ร้อยละ ประเภทของวัตถุดิบที่ซื้อ ตลาด 18 85.7
ร้านค้าในชุมชน 11 52.4
รถเร่/รถพุ่มพวง 1 4.8 ผู้ผลิต (เกษตรกร) 4 19.0
อื่น ๆ 1 4.8

พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการอาหาร ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ปรุงอาหารจำแนกตามความถี่ของการปฏิบัติด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องความปลอดภัยของอาหาร พฤติกรรมความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของผู้ตอบ หมายเหตุ ไม่ปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ประจำปฏิบัติ
การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 1 ท่านเลือกซื้อวัตถุดิบอาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ในการประกอบอาหาร สดใหม่ (ประกอบอาหารหมดภายใน 1-2 วัน) 14.3 4.8 81.0
2 ท่านซื้อวัตถุดิบประเภทผักสด ผลไม้ จากร้านที่ได้รับมาตรฐานอาหารปลอดภัย เช่น แหล่งการผลิตหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (Q Organic) คุณภาพทางการเกษตร GAP ระบบประกันคุณภาพในระดับท้องถิ่น (PGS) 47.6 14.3 38.1
3 ท่านซื้อวัตถุดิบอาหารสดประเภทผัก ผลไม้ จากเกษตรกรโดยตรง 19.0 38.1 42.9
4 ท่านซื้ออาหารทะเล เช่น ปลา กุ้ง หอย ปลาหมึก จากผู้ขายที่มั่นใจว่าไม่มีการใส่สารปนเปื้อนในอาหารทะเล 14.3 9.5 76.2
5 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในตู้เย็นตามอุณหภูมิที่เหมาะสมแต่ละประเภทของวัตถุดิบ 0 0 100 6 ท่านมีการดูแลความสะอาดและคงความสดใหม่ของวัตถุดิบ ด้วยการเก็บรักษาในถังน้ำแข็ง/ ภาชนะอื่นๆ 0 4.8 95.2
7 ท่านดูวันหมดอายุที่ฉลากสินค้าก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ
การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์)
8 ท่านรักษาความสะอาด (ไม่มีคราบเศษอาหารหรือคราบสกปรก) สถานที่ในการปรุงอาหาร ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน 0 0 100 9 ท่านปรุงอาหารในสถานที่ที่มีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เช่น มีปล่องระบายควัน หรือพัดลมระบายอากาศ 0 4.8 95.2
10 ท่านทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารด้วยวิธีการ กวาด ถู เช็ด ทุกวันก่อนหรือหลังที่จะทำอาหาร 0 0 100 11 ท่านมีการจัดวัสดุอุปกรณ์ ของใช้ในครัวเป็นระเบียบ เรียบร้อย และจัดเป็นสัดส่วน 0 9.5 90.5
12 ท่านใช้น้ำยาล้างจานในการทำความสะอาดภาชนะและล้างด้วยน้ำเปล่า 2 ครั้ง 0 0 100 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 13 ท่านเตรียมวัตถุดิบอาหารหรือวางภาชนะที่ใส่อาหารบนโต๊ะที่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. 0 0 100 14 ท่านมีการแยกวัตถุดิบระหว่างอาหารสด อาหารแห้งและอาหารปรุงสำเร็จเพื่อเตรียมปรุงอาหาร 0 5.0 95.0
15 ท่านทำความสะอาดผัก ผลไม้ ด้วยวิธีการ ปลอดภัย เช่น ล้างด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านก่อนที่จะนำมาปรุงอาหาร/การใช้เบคกิ้งโซดา 0 0 100 16 ท่านล้างวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้รวมกันในครั้งเดียว 85.7 0 14.3
17 ท่านใช้เขียงอาหารดิบและอาหารสุกร่วมกันในการประกอบอาหาร 57.1 9.5 33.3
18 ท่านใช้น้ำมันเก่าผสมกับน้ำมันใหม่ในการปรุงอาหาร 95.2 0 4.8 19 ท่านดูแลความสะอาดของร่างกาย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้าสะอาด สวมหน้ากากอนามัย สวมถุงมือ หมวก และผ้ากันเปื้อนที่สะอาด 0 0 100 20 ท่านมีการล้างมือด้วยสบู่/ เจลแอลกอฮอล์ ก่อนสัมผัสอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ ในการเตรียม ปรุง จำหน่ายและเสิร์ฟอาหาร 0 0 100 21 ท่านมีการใช้ประโยชน์จากอาหารเหลือทิ้งด้วยการเป็นอาหารสัตว์ หรือปุ๋ยหมัก 0 14.3 85.7
22 ท่านจัดการของเสียจากกระบวนการอาหารกลางวัน เช่นน้ำมันทอดซ้ำ น้ำล้างวัตถุดิบ เศษอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล 0 19.0 81.0
การขนส่ง 23 ท่านมีการจัดส่งอาหารไปสู่ผู้บริโภค โดยไม่มีฝาปิดให้มิดชิด 81.0 9.5 9.5 2.24 เมื่อท่านจัดทำอาหารปรุงสำเร็จพร้อมบริโภค มีการเก็บแยกเป็นสัดส่วน ปกปิดและไม่วางบนพื้น 9.5 0 90.5
25 ท่านให้ผู้บริโภคหยิบอาหารได้ตามใจชอบ และสามารถใช้มือหยิบในภาชนะได้เลย 90.5 4.8 4.8 26 ท่านดูแลรักษาความสะอาดของพื้นที่ บริการอาหาร/เสิร์ฟอาหาร ที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนสู่อาหารได้ 4.8 4.8 90.5
27 ท่านนำภาชนะที่เคยบรรจุสารเคมีมาใช้บรรจุอาหาร เช่น ถังสี/ถังน้ำมัน 95.2 0 4.8 28 ท่านมีการปฏิบัติตามหลักสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น ตัดเล็บ ความสะอาดของเสื้อผ้า ไม่ไอหรือจามรดอาหาร 0 0 100


ตารางที่ 4 ระดับคะแนนพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารในด้านต่าง ๆ ของผู้ปรุงประกอบอาหาร ความปลอดภัยในอาหารด้านต่าง ๆ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดหาวัตถุดิบอาหาร 21 18.9 1.7 การเตรียมปรุง (สถานที่และวัสดุอุปกรณ์) 15 14.9 0.4 การเตรียมปรุง (กระบวนการเตรียมอาหาร) 30 28.4 1.6 การขนส่ง 18 17.1 1.8 รวมทั้งหมด 84 79.3 3.7

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปกิจกรรมประชุมตำบลบางโกระ วันที่23พฤษภาคม 2567
สถานที่ รพ.สต.บางโกระ เนื่องจากทางบางโกระได้เห็นความสำคัญของเด็กในเรื่องโภชนาการอาหารที่เด็กยังขาดอยู่จึงคิดทำโครงการเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและเหมาะสมกับเด็กขึ้น และปัญหาด้านสุขภาพฟันในช่องปากของเด็กส่งผลทำให้เด็กไม่อยากทานอาหารหรือกินอาหารได้น้อยลง โดยการการประชุมมีผู้เข้าร่วมประชุม ตัวแทน รพ.สต.บางโกระ -อสม -ผู้ปกครอง -บัณฑิตอาสา -ผู้ใหญ่บ้าน -แพทย์ประจำตำบล -ครูรร.บ้านล้อแตก -ครูศพด.ตำบลบางโกระ -กำนัน ต.บางโกระ -อบต.บางโกระ -รร.วัดสุนทรวารี มีการระดมความคิดเพิ่มเติมถึงกิจกรรมที่อยากให้เกิดขึ้นในชุมชน • ประกวดเด็กสุขภาพดี • กิจกรรมเฝ้าติดตามช่องน้ำหนักส่วนสูงทุกๆ 3 เดือนเพื่อให้เข้าเกณฑ์ตามมาตรฐาน • แนะนำผู้ปกครองให้ทำอาหารท้องถิ่นให้เด็กรับประทานตอนเช้า • ปลูกฝังสร้างวินัยการกินตั้งแต่เด็กเรื่องอาหารทุกประเภทให้ประโยชน์และโทษอย่างไร • กิจกรรมแนะนำมารดาหลังคลอดให้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน • กิจกรรมแปรงฟันให้ถูกวิธีโดยไม่ใช้น้ำ • จัดกิจกรรมแนะนำผู้ปกครองเรื่องอาหารและการแปรงฟันที่ถูกวิธี • แนะนำการบริโภคอาหารให้เหมาะสมทั้งปริมาณและคุณภาพรวมถึงรสชาติอย่างไรส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการกินอาหารอย่างไรให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกายกินอย่างไรไม่ให้เป็นโรค • ให้ความรู้เรื่องกินหวานมันเค็มมีโทษต่อร่างกายอย่างไร • จัดทำกิจกรรมโดยอาศัยกลุ่มเครือข่ายออกประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับคนในพื้นที่เช่นสถานศึกษาในพื้นที่ตำบล • ส่งเสริมการอุดฟันแบบสมาร์ทเทคนิค • จัดกิจกรรมสนทนาอาหาร 5 หมู่และแอโรบิคเอโรใจเต้นแอโรบิคยามเช้า • จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับการกินที่ถูกหลักโภชนาการ • กิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง • จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายเรื่องอาหารถูกหลัก 5 หมู่ • จัดงบประมาณแจกอาหารทุกวันในมื้อเช้า • จัดกิจกรรมแข่งกีฬาในชุมชนให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมกับเด็กๆ • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในช่องปากเพื่อสุขภาพฟันที่ดี • จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการอาหาร • จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่เดือนละ 1 ครั้งโดยให้ความรู้กับผู้ปกครอง • ให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องอาหารสำหรับลูก • จัดกิจกรรมประกวดเมนูอาหารสำหรับลูกรัก • กิจกรรมแดนซ์แม่ลูกยามเย็น • ประกวดหนูน้อยฟันสวย • แนะนำและให้ความรู้ผู้ปกครองและคนในครอบครัวโดยตรง • จัดอบรมผู้ปกครองหรือคนที่ดูแลเด็กให้เข้าร่วมกิจกรรมการดูแลเด็กในด้านต่างๆ การระดมความคิดชื่อโครงการ • โครงการกินฟรีอยู่ดีมีสุข • โครงการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ • โครงการกินอย่างไรให้ถูกใจคนรักสุขภาพ • โครงการเปลี่ยนพฤติกรรมการกินเพื่อสุขภาพ • โครงการกินให้ถูกหลักและสอดคล้องกับแหล่งอาหาร • โครงการกินดีสุขภาพดีหนูน้อยปลอดภัย • โครงการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ครอบครัวอบอุ่น • โครงการอาหารดีสุขภาพเลิศ • โครงการกินดีสุขภาพดีหนูน้อยปลอดภัย • โครงการเด็กดีสุขภาพดีกินอาหารดีมีสุข • โครงการกินได้กินดีกินแล้วต้องดีต่อสุขภาพ • โครงการส่งเสริมสุขภาพพลานามัยเด็ก • โครงการวัยรุ่นฟันน้ำนมโภชนาการดีกินอาหารครบ 5 หมู่ • โครงการกินได้กินดีเด็กบางโกระฟันสวยสูงดีสมส่วน • โครงการอาหารดีชีวิตเป็นสุข • โครงการ You are what you eat กินอะไรเป็นอย่างนั้น • โครงการกินดีกินเป็นหนูน้อยสูงดีสมส่วน • โครงการกินถูกหลักโภชนาการเพื่อสุขภาพดี • โครงการเด็ก 0-5 ปีปรับพฤติกรรมการกินเพื่อสุขภาพของเด็กน่ารัก • โครงการสุขภาพดีชีวีมีสุข • โครงการดีพัฒนาการสมวัยถูกหลักโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย • ผู้ปกครอง • เด็ก 0 ถึง 5 ปี • ผู้นำชุมชน • เจ้าหน้าที่รพ. สต • อสม • คุณครู • องค์กรในชุมชนเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง • สถานศึกษาต่างๆ • คนในชุมชน

ความรู้สึก /ข้อแนะนำ จากการมาประชุมครั้งนี้ • ยินดีที่มีคนเห็นความสำคัญของเด็กปฐมวัย • ได้รับความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของการกินของเด็ก 0-5 ปีและคนในชุมชน • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานเรื่องอาหารในพื้นที่ตำบลเพื่อนำไปปรับปรุง • ได้รับความรู้และแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก 0-5 ปี • ได้มีการระดมความคิดในการพัฒนาเด็กในชุมชนให้มีสุขภาพที่ดี • ได้แลกเปลี่ยนความรู้รับรู้ข่าวสาร • ขอบคุณโครงการดีๆที่ทำให้เกิดความรู้ • ได้รับความรู้ประเด็นเรื่องอาหารและโภชนาการทราบถึงปัญหาแนวทางแก้ไขในการนำไปปฏิบัติ • ได้รับความรู้เกี่ยวกับการกินอาหารของเด็กและสุขภาพการแปรงฟันที่ถูกวิธีช่วยแนะนำผู้ปกครองในการพัฒนาการของเด็ก • แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตัวแทนในชุมชนเรื่องอาหารและโภชนาการของเด็กเพื่อพัฒนาเด็กในชุมชน • ได้รับความรู้เรื่องอาหารและภาชนะในการใส่อาหารอย่างปลอดภัย • เห็นความสำคัญของผู้ปกครองให้มาดูแลเด็กมากขึ้น • ได้รู้ถึงปัญหาและโครงการที่ผู้เข้าร่วมอบรมนำเสนอ • ได้ทราบปัญหาของเด็กในชุมชนและได้แนวทางแก้ปัญหาดังกล่าวเบื้องต้น • ได้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารเด็กในชุมชน • ได้รู้ถึงปัญหาโภชนาการของตำบลบางโกระ