directions_run

การพัฒนาศักยภาพและหนุนเสริมการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพชอ. 19 อำเภอ (เดิม) ต่อกระบวนการในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา พัฒนา และค้นหาศักยภาพให้กับอำเภออื่น ๆ ในด้านการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559

 

 

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพพชอ. ในพื้นที่ขยายผล 14 อำเภอ (ใหม่) ให้มีแนวทางในการขับเคลื่อนจากการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติ ในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 5 ด้านทั้ง 33 อำเภอ 2. มีกลไกความร่วมมือระหว่างภาคีจาก 6 กระทรวงหลักตาม พรบ. พ.ศ. 2559

 

 

 

3 เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในการนำพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560-2569 สู่การปฏิบัติโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: กรณีศึกษา 33 อำเภอ จังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 3. มีฐานข้อมูลการดูแลช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่นโดยกลไก พชอ. และ ภาคีเครือข่าย

 

 

 

4 เพื่อรณรงค์สื่อสารทางสังคม (Media Advocacy) ต่อการดำเนินงานประเด็นครรภ์วัยรุ่นของ พชอ. 33 อำเภอในจังหวัดชายแดนใต้
ตัวชี้วัด : 4. มีการรณรงค์ขับเคลื่อนและสื่อสารสังคมประเด็นครรภ์วัยรุ่น

 

 

 

5 เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ ต่อการผลักดันนโยบาย (Policy advocacy) ในการขับเคลื่อนประเด็นครรภ์วัยรุ่นต่อองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 5. มีนวัตกรรมการบูรณาการทรัพยากรเพื่อการดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายครรภ์วัยรุ่น