โครงการการขยายผลรูปแบบการดำเนินงานบูรณาการระบบอาหารปลอดภัยใน ต.นาท่อม อ.เมือง จ.พัทลุง

เก็บและรวบรวมข้อมูล20 มีนาคม 2562
20
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย นายถาวร คงศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำมาสู่การวิเคราะห์ระบบอาหารปลอดภัยตำบลนาท่อม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การเก็บข้อมูลเพิ่มเติม 1. ประเด็นอาหารปลอดภัย การเก็บข้อมูล โดยการปฎิบัติการจริง ตรวจสารเคมีปนเปื้อน/ตกค้าง 7 ชนิดในตลาดสด 2 ตลาด และ ตรวจสารเคมีตกค้างในร่างกาย ทั้ง ตำบล 2. ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เก็บข้อมลจาก เกษตรอำเภอ ปศุสัตว์ กรมพัฒนาที่ดิน เทศบาล ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง โดยใช้ข้อมูลมือสอง 3. โภชนาการสมวัย เก็บข้อมูลจากการจัดเวทีรายงานผลการดำเนินงานแต่ละโรงเรียน 3 โรง 4. นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียงง่ายต่อการนำเสนอ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output)

  • คณะทำงานจัดเก็บข้อมูล 10 คนได้รวบรวมเรีบยเรียงข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ได้ทราบและมีความรู้สถานการณ์ 3 ประเด็นงาน เรื่องความปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหาร และสมโภชนาการ ทั้ง3 โรงเรียน

ผลลัพธ์ (Outcome)
- ได้ผลการวิเคราะห์ ตามกรอบ 16 ตัวชี้วัด (ตามเอกสารแนบ) -  ได้เอกสารที่ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนโดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล เติ่มเต็มเพื่อนำกลุับไปใช้ในการปรับแผนของตำบล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

อสม 5 คน -แกนนำบ้านหูยาน2 คน -คณะทำงาน 3 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ข้อมูลบางตัวชี้วัดต้องมีการเก็บเพิ่มเช่น
- การตรวจสารเคมีตกค้างในร่างกาย แนวทาง รพสต.ตรวจสารเคมีตกค้างในร่างกายเพิ่ม หมู่ละ 30 คน 8 หมู่บ้าน 240 คน กำลังดำเนินการ - การตรวจสารปนเปื้อนในพืช ผัก ผลไม้ในตลาด เนื้อสัตว์และอาหารสดในร้านค้าในตลาดนัดม่วงลูกดำและตลาดนัดโคกม่วง แนวทาง อบรม คคบ.ให้ตรวจเองได้เพื่อตรวจเองในครั้งต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

การหนุนเสริมองค์ความรู้และกระบวนการให้ชุมชนได้ตระหนักเพิ่มขึ้น เช่น  ความรู้  สื่อ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

1.การตรวจของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ต้องทำและมีมาตรฐานรองรับเพื่อสร้างความมั่นใจและการมีส่วนร่วม 2.พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคให้ความประสบการณ์เพิ่มขึ้น