การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน

ทบทวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ1 มิถุนายน 2561
1
มิถุนายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย นายคชาพล นิ่มเดช
circle
วัตถุประสงค์

1.เพื่อทบทวนการวิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 2.เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการต่างๆ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD)

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การทบทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD) ทำให้เข้าใจถึงประโยชน์จากการใช้ HIA  กระบวนการวิธีการ HIA ประโยชน์ รวมไปถึงการประยกต์ใช้ HIA ในสาขาต่างๆ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
ดร.พิเชตวุฒิ นิลลออ
ดร.สายสุนีย์ จำรัส
    ดร.โปรดปราน คำอ่อน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดร.คชาพล นิ่มเดช
ดร. ดุริยางค์ วาสนา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช   ดร. ปวิตร ชัยวิสิทธิ์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่มีการศึกษาการประเมินผลกระทบโครงการเชิงบวกในประเทศไทย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

1.การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในโครงการส่งเสริม และป้องกันภัยด้านสุขภาพ ในโครงการที่เกิดผลกระทบเชิงบวก เป็นมิติใหม่ที่ควรมีการศึกษาผลในประเทศไทย

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

1.ผู้ประเมินควรเข้ารับการอบรมด้าน HIA เพิ่มเติม

2.เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้ HIA