นโยบายสวนยางยั่งยืน

ประชุมปรึกษาหารือการขับเคลื่อนงานสวนยางยั่งยืนจังหวัดสตุล4 ตุลาคม 2565
4
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Kero
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการจัดทำสวนยางยั่งยืน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานข้อมูลจาก กยท.รวบรวมข้อมูลและประสานผู้ดข้าร่วมประชุม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถานการณ์ปัญหา :คนมีภาวะเจ็บป่วยด้วยการปนเปื้อนของผัก ผลไม้/ปัจจัยการผลิตทรัพยากรเสื่อม ขาดแรงงาน การผลิต การตลาดนโยบายภาครัฐการค้าเสรีทำให้การเข้าถึงอาหารได้อยากๅเป็นเกษตรกรเชิงเดี๋ยว แนวทางการพัฒนา : ทำการเกษตรที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ลดการใช้สารเคมี/จัดตั้งธนาคารเมล็ดพันธ์ประจำถิ่น/ฟื้นฟูระบบนิเวศน์ การจัดการน้ำ การจัดทำฝายมีชีวิต ข้อเสนอเชิงนโยบาย :สร้างความมั่นคงทางอาหารและสนับสนุนการสร้างมาตรฐานให้กับสินค้าทางการเกษตร/เพิ่มการส่งเสริมด้านการตลาดรูปแบบต่างๆให้กับกลุ่มเครือข่าย/สร้า ความร่วมมือกับท้องถิ่นและภาควิชาการ/ยกระดับมาตรฐานสินค้าทางการเกษตรเพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร/มีแผนปฎิบัติการระดับชุมชนในการพัฒนากลไกและสร้างความมั่นคงทางอาหารระดับพื้นที่/มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแนยุทธศาสตร์/มีกลไกติดตามข้อเสนอและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่อง/อปท.ต้องมีแผนการดำเนินงานระบบเกษตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 37 คน จากที่ตั้งไว้ 37 คน
ประกอบด้วย

แกนนำและกลุ่มเป้าหมายการขับเคลื่อนงานสวนยางยั่งยืน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่