แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ผศ.ดร.ชุมพล อังคนานนท์ | 31 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ดร.อนิรุต หนูปลอด | 31 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ผศ.ดร.วุฒิชัย ศรีช่วย | 31 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
นายวิโรจน์ ภู่ต้อง, ดร.จตุรงค์ คงแก้ว | 31 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมปรึกษาหารือจัดทำและทบทวนเครื่องมือวิจัย | 21 ส.ค. 2566 | 21 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมคณะทำงานชุมชนสีเขียว | 8 มิ.ย. 2565 | 8 มิ.ย. 2565 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมจัดทำเอกสารคำนิยามชุมชนสีเขียว | 2 ก.ค. 2565 | 2 ก.ค. 2565 |
|
* |
|
* |
|
จัดทำเอกสารคำนิยามชุมชนสีเขียว | 7 ก.ค. 2565 | 7 ก.ค. 2565 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมคณะทำงาาน 4 ภาค | 25 ก.ค. 2565 | 25 ก.ค. 2565 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมคัดเลือกพื้นที่ชุมชนสีเขียว | 2 ก.ย. 2565 | 2 ก.ย. 2565 |
|
* |
|
* |
|
ประเมินพื้นฐานและการวางแผนการทำงานของกลุ่มเกษตรกรสู่การทำเกษตรกรรมยั่งยืน | 9 ก.ย. 2565 | 9 ก.ย. 2565 |
|
1.กรอบการประเมิน 2.สร้างแนวทางการดำเนินงานพัฒนาการทำเกษตรกรรมยั่งยืน เริ่มจากทำข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่นเป็นแนวทางในการพัฒนาการเกษตรและด้านอื่นๆ 3.ประชุมกลุ่มทำ swot เพื่อรู้จักตนเอง |
|
"ละหา" เป็นหมู่บ้านที่อยู่ในอำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส มีประชากรประมาณ 1800 คนชาวบ้านส่วนใหญ่เคยประกอบอาชีพปลูกข้าว โดยในอดีตที่นาอยู่ในสภาพทุ่งนาร้าง ในปี 2549 ได้มีการฟื้นฟูทำนาอีกครั้งด้วยเหตุผลหลายประการหลังจากที่มีแนวคิดต้องการที่จะฟื้นนาร้างอีกครั้งในบรรดาเยาวชนทั้งหมดมีแกนนำเยาวชนหนึ่งคนที่จบการศึกษาระดับปัญญาตรีจากมหาลัยราชภัฎยะลาชื่อนายมูฮัมหมัด บิง ซึ่งเป็นนักศึกษาที่เรียนจบจากสายเกษตร มีความมุ่งมั่นและได้พยายามเริ่มต้นจากการรวมกลุ่มเพื่อนๆ เยาวชนให้ลุกขึ้นมาปลูกข้าวอีกครั้งเมื่อมีสมาชิกที่มีความฝันเหมือนกันเป็นกลุ่มเยาวชนในรุ่นเดียวกันแต่ยังขาดประสบการณ์การทำนาจึงหาทางออกด้วยการเข้าไปขอคำปรึกษาและเรียนรู้ขั้นตอนการทำนาจากนักปราชญ์ชื่อนายดุลเลาะสะอะและได้พูดคุยถึงสภาพปัญหาต่างๆทำให้กลุ่มเยาวชนรู้สึกมั่นใจอีกครั้งและได้ไปเชิญชวนชาวบ้านและผู้อาวุโสที่มีประสบการณ์การทำนาในหมู่บ้านโดยพื้นฐานเยาวชนของหมู่บ้านละหาสามารถรวมกลุ่มกันไม่ยากเนื่องจากเยาวชน ส่วนใหญ่มีจิตอาสาเรื่องช่วยเหลือเต็มที่มากเกิดการรวมกลุ่มและได้นัดประชุมอย่างไม่เป็นทางการบ่อยครั้งที่ประเด็นสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับการฟื้นฟูนาร้างพูดถึงราคาข้าวสารที่สูงขึ้นและราคายางที่ตกต่ำเพื่อให้เยาวชนในกลุ่ม มีความตระหนักและมีความต้องการปลูกข้าวจนตกผลึกทางความคิดและนำไปสู่การจับมือโรงปฎิบัติการทำนาร่วมกันกลุ่มเยาวชนชาวหน้าบ้านละหาได้ยืนหยัดและเสนอแนวทางร่วมกันด้วยกับการพัฒนาท้องถิ่นริเริ่มกลับมาปลูกข้าวเพื่อฟื้นฟูนาที่เคยร้างมา 20 กว่าปีกันอีกครั้งแต่ด้วยกับการเป็นเยาวชนที่ยังไม่มีรายได้เป็นหลักเป็นแหล่งจึงต้องอาศัยหน่วยงานในท้องถิ่นเพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนกลุ่มหลังจากได้รับคำแนะนำจากสมาชิกองค์กรการบริหารส่วนตำบลแว้ง กลุ่มเยาวชนได้คัดเลือกชาวบ้านที่ประสงค์ทำนาเพื่อรวบรวมรายชื่อพร้อมกับชุมชนที่แต่งตั้งประธาน รองประธาน เลขา และเหรัญญิก เริ่มทำงานครั้งแรกในปี พ.ศ.2549 ในปี 2551 มีโครงการของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดใช้แดนภาคใต้โดยมีเกษตรอำเภอเป็นผู้ทำโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 330,000 บาท มีการประชุมสมาชิกโดยจะนำเงินไปซื้อที่ดิน และเครื่องสีข้าว ปัจจุบันโรงสีข้าวของกลุ่มเยาวชนบ้านละหาได้ดำเนินงานเป็นที่เรียบร้อยแล้วสถานที่ตั้งอยู่ตรงข้ามบ้านผู้ใหญ่บ้าน และเป็นโรงสีข้าวที่ให้บริการชาวนาจากพื้นที่อื่นด้วยสามารถมาใช้สิทธิ์เข้าได้และมีค่าใช้จ่ายเงินส่วนนี้จะเป็นเงินกองกลาง มีการเริ่มโครงการพัฒนาโรงเรียนชาวนาและการยกระดับเป็นนาอินทรีย์ เนื่องจากเหตุผลหลายประการอาทิเช่นสภาพเศรษฐกิจที่ไม่ดีนักชาวบ้านจะต้องมีเวลาเพื่อทำอาชีพหลายอย่างเพื่อเลี้ยงดูครอบครัวเช่นกรีดยางสร้างบ้านและทำสวน ประกอบ กับเหตุผลขาดน้ำ การก่อรูปโรงเรียนชาวนาบ้านละหานกลายเป็นศูนย์รวมตัวของกลุ่มชาวนาบ้านละหาในกิจกรรมต่างๆเช่นเป็นพื้นที่พูดคุยเกี่ยวกับสภาพปัญหาของกลุ่มชาวนา โรงเรียนชาวนาถือเป็นศูนย์กลางประสานงานระหว่างภาครัฐ เพื่อให้หน่วยงานสามารถสนับสนุนทั้งงบประมาณและความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ อยู่แบบพอเพียงทำให้มีการขยายพื้นที่จาก 8 ครัวเรือนมาเป็น 32 ครัวเรือน |
|
ประชุมติดตามการประเมินพื้นที่สวนยางยั่งยืนที่กระบุรี จังหวัดระนอง | 9 ธ.ค. 2565 | 9 ธ.ค. 2565 |
|
- |
|
- |
|
กิจกรรมประเมินพื้นฐานการทำการเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง | 13 ม.ค. 2566 | 13 ม.ค. 2566 |
|
1.การสำรวจเกษตรกรที่มีความรู้พื้นฐานด้านการเกษตรผ่านศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านควนกุฏ |
|
1.เกษตรกรมีความรู้พื้นฐานด้านการเกษตรเป็นอย่างดีมีการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบผ่านศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านควนกุฏ เป็นรูปแบบเกษตรผสมผสาน ที่ได้รับการรับรองเกษตรอินทรีย์ มีการปลูกข้าวสังหยด ข้าวพื้นเมือง มีการปลูกพืชหลากหลายทำให้มีรายได้ทั้งปี เช่น มะพร้าวน้ำหอม มะนาว ส้มโอ มังคุด ลองกอง สะตอ ชาวบ้านในพื้นที่ 80% มีกระบวนการปลูกพืชผักรอบบ้าน มีมากเกินความต้องการทำให้มีผลิตภัณฑ์ส่งออกไปยังตลาด และนอกพื้นที่ได้
2.เกษตรกรในพื้นที่มีการช่วยเหลือแลกเปลี่ยนทั้งความรู้ พันธุ์พืช วัสดุ และผลผลิต กลุ่มชาวบ้านมีการแลกเปลี่ยนความรู้ มีการรวมตัวที่เหนียวแน่น มีการแลกเปลี่ยนซื้อขายต้นพันธ์ผักที่เพาะตามความถนัด
3.มีการแข่งขันด้านผลงานส่งผลให้เกิดการพัฒนากระบวนการผลิต
4.ทุกครัวเรือนมีแปลงผักริมรั้ว หรือหลังบ้านที่มีการผลิตประสิทธิภาพสูง การผลิตเป็นกระบวนการผลิตแบบปลอดสารพิษ และเกษตรอินทรีย์ โดยผลิตตามความต้องการของชุมชน และตลาด ส่งผลให้สามารถขายได้ราคา
5.บางครัวเรือนมีการเพาะพันธุ์ไม้ประดับ
6.เกษตรกรในชุมชนควนกุฏมีการพัฒนา และหาความรู้เพิ่มเติม เป็นแนวทางที่ดีในการปรับตัวสู่การทำเกษตรกรรมยั่งยืน |
|
ประชุมติดตามการประเมินพื้นที่สวนยางยั่งยืนที่กระบุรี จังหวัดระนอง | 23 ม.ค. 2566 | 23 ม.ค. 2566 |
|
- |
|
- |
|
ประชุมคณะทำงาน (ทีมประเมิน) | 27 ม.ค. 2566 | 27 ม.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมติดตามการประเมินพื้นที่สวนยางยั่งยืนพื้นที่คลองท่อม จังหวัดกระบี่ | 28 ม.ค. 2566 | 28 ม.ค. 2566 |
|
- |
|
- |
|
ประชุมคัดเลือกพื้นที่ชุมชนสีเขียว | 2 ก.พ. 2566 | 2 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมวางแผนการติดตามประเมินพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนทุ่งใสไช | 11 ก.พ. 2566 | 11 ก.พ. 2566 |
|
22 |
|
22 |
|
ประชุมติดตามประเมินพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน ครั้งที่1 | 12 ก.พ. 2566 | 12 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
เขียนรายงานการประเมินและถอดบทเรียนพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน | 15 ก.พ. 2566 | 15 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมจัดทำเอกสารผลลัพธ์และตัวชี้วัดการประเมิน | 26 ก.พ. 2566 | 26 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
จัดทำเอกสารผลลัพธ์และตัวชี้วัดชุมชนสีเขียว | 28 ก.พ. 2566 | 28 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมติดตามประเมินพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน ครั้งที่2 | 1 มี.ค. 2566 | 1 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมพัฒนาเครื่องมือประเมิน | 6 มี.ค. 2566 | 6 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเพื่อถอดบทเรียน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร | 11 มี.ค. 2566 | 11 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
จัดทำเอกสารการประเมินชุมชนสีเขียว | 13 มี.ค. 2566 | 13 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่เก็บข้อมูล พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน เพื่อถอดบทเรียนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร | 18 มี.ค. 2566 | 18 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลเกษตรกรรมยั่งยืน | 20 มี.ค. 2566 | 20 มี.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมการลงพื้นที่และหาข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลพื้นที่เพิ่มเติม | 22 พ.ค. 2566 | 22 พ.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมจัดทำแผนปฎิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้ | 1 มิ.ย. 2566 | 1 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมจัดทำแผนปฎิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้ | 1 มิ.ย. 2566 | 1 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมจัดทำแผนปฎิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้ | 1 มิ.ย. 2566 | 1 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมจัดทำแบบสอบถามและแบบเก็บข้อมูล | 10 มิ.ย. 2566 | 10 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่ถอดบทเรียนบ้านไหนหนัง | 11 มิ.ย. 2566 | 11 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่ถอดบทเรียน 3 ชุมชน | 25 มิ.ย. 2566 | 25 มิ.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมจัดทำเอกสารนำเข้าชุมชนสีเขียว งานสร้างสุขภาคใต้ | 16 ก.ค. 2566 | 16 ก.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่ถอดบทเรียนชุมชนบ้านไหนหนัง | 23 ก.ค. 2566 | 23 ก.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
กิจกรรมถอดบทเรียนประเมินการนำรูปแบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืนไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่และประเมินผลกระทบของการสร้างปฏิบัติการ อ.แว้ง จ.นราธวาส | 26 ส.ค. 2566 | 26 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและถอดบทเรียนความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดสุราษฎร์ธานี | 30 ส.ค. 2566 | 30 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและถอดบทเรียนความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดชุมพร | 31 ส.ค. 2566 | 31 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและถอดบทเรียนความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดพัทลุง | 1 ก.ย. 2566 | 1 ก.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
สรุปข้อมูลถอดบทเรียนความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ 4 พื้นที่ จ.ชุมพร,สุราษฎร์ธานี,พัทลุง และนราธิวาส | 4 ก.ย. 2566 | 4 ก.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ติดตามประเมินแผนงานการพัฒนากลไก พรบ.สุขภาพแห่งชาติโดยการทำสมัชชาเชิงประเด็น "ชุมชนสีเขียว" | 16 ก.ย. 2566 | 16 ก.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมเตรียมเก็บข้อมูลและลงพื้นที่เพิ่มเติม | 10 ต.ค. 2566 | 10 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ลงพื้นที่เก็บข้อมูล | 13 ต.ค. 2566 | 13 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมสรุปผลการลงพื้นที่เพิ่มเติม | 17 ต.ค. 2566 | 17 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
จัดทำเอกสารการวิจัย | 18 ต.ค. 2566 | 18 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลและเตรียมการเขียนผลการวิจัย | 22 ต.ค. 2566 | 22 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
จัดทำเอกสาร่างรายงานวิจัย | 24 ต.ค. 2566 | 24 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|