แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประชุมชี้แจงคณะทำงาน | 20 ธ.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมชี้แจงคณะทำงาน | 21 ธ.ค. 2565 | 21 ธ.ค. 2565 |
|
|
|
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 26 คน เกิดความเข้าใจและร่วมมือในการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ เกิดการซักถามและแลกเปลี่ยนแนวคิดในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและตัวแทน พชอ อำเภอพระพรหม ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นายกเทศมนตรี นายกองคฺการบริหารส่วนตำบล โดยมุ่งเน้นในการแก้ปัญหาตามประเด็น พชอ คือ โรค NCD เบาหวานและความดัน โดยสาเหตุหลักมาจากเรื่องของพฤติการการกินการบริโภค และการออกกำลังกาย |
กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหารท้องถิ่นเข้าประชุมไม่ครบทุกตำบลส่งตัวแทน บางครั้งทำให้การถ่ายทอดเชิงกระบวนการและนโยบายไม่ต่อเนื่อง |
เรียนรู้เวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพ | 9 ก.พ. 2566 | 9 ก.พ. 2566 |
|
|
|
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพทั้ง 4 กองทุน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดเทศบาล ผู้ติดตามจาก สนส มอ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผอ รพ สต เลขา พชอ อำเภอพระพรหม คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ เกิดการเรียนรู้กระบวนการ โครงสร้างของ เวปไซด์กองทุน เกิดการเรียนรู้ในการการจัดการข้อมูลสุขภาพ ระดับตำบลผ่านเวปกองทุนฯ เกิดการเรียนรู้ในการติดตามแระเมินผล ผ่านเวปกองทุนหลักประกันสุขภาพ เกิดแผนสุขภาพระดับตำบล แผนสุขภาพระดับอำเภอ |
การนำเสนอเวปกองทุนหลักประกันสุขภาพ ที่พัฒนาโดย สนส มอ มีความคล้ายคลึงกับเวปกองหลักประกันสุขภาพของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต 11 ที่ส่งเสริมให้กองทุนหลักประกันสุขภาพทั้งในเขต 11 เป็นผู้ใช้ แม้ว่าปัจจุบันการพัฒนาเวปดังกล่าวยังไม่สมบูรณ์ แต่ดูเหมือนว่า การนำเสนอการใช้เวปของ สนส มอ.ที่พัฒนามาระยะหนึ่งและมีการทดลองใช้แล้วในเขต 12 ทำให้เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพที่ปฏิบัติงานมีความรู้สึกว่าเป็นการซ้ำซ้อน เหมือนทำงานสองครั้งในเรื่องเดียวกัน และ ดูเหมือนว่าในเขต 11 เป็นการบังคับใช้เวปของสำนักงานหลักประกันสุขภาพที่พัฒนาขึ้นมาเอง |
ประชุมวางแผนขับเคลื่อนงานและจัดทำบันไดผลลัพธ์ในการดำเนินกลไก พชอ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช | 10 ก.พ. 2566 | 10 ก.พ. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ทบทวนประเด็นและกลไก พชอ อำเภอพระพรหม | 21 มี.ค. 2566 | 21 มี.ค. 2566 |
|
|
|
จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจำนวน 33 คน ประกอบด้วย นายอำเภอพระพรหม สาธารณสุขอำเภอพระพรหม เกษตรอำเภอ พัฒนาการอำเภอ นายก อปถ ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภา ผอ รพ สต เข้าใจถึงสภาพปัญหาของข้อมูลด้านสุขภาพของอำเภอพระพรหม โดยการหยิบยกข้อมูลความดันโลหิตสูงและเบาหวานมาเป็นข้อมูลเบื้องต้น เพราะเบาหวานและความดัน เป็นบ่อเกิดของโรคอื่นๆ ที่ตามมา ผลของการประชุม ที่ประชุมกำหนด ให้ปัญหาหา NCD ยังคงเป็นปัญหาของอำเภอพระพรหม ที่ประชุมได้เน้นหนักไปที่ปัฯหาโรคไตในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 130 คนที่ป่วยเป็นโรคไตในระยะที่ 1 สรุป ประเด็นปัญหา พชอ คือ โรค NCD เน้นหนักเบาหวานความดัน เนื่องจากอำเภอพระพรหม ได้จัดทำแผนการขอทุนไปก่อนแล้ว นำโครงการดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อจัดประเด็นในการดำเนินงานเข้าประเด็น พชอ |
|
ทบทวนแผนสุขภาพตำบล | 22 มี.ค. 2566 | 22 มี.ค. 2566 |
|
1.ทบทวนข้อมูล ทั้งสามกลุ่ม ในระดับตำบล ผ่านฐานข้อมูล HDC ของสถานบริการสาธารณสุข
2. ตรวจสอบข้อมูลกับระดับพื้นที่ รพ สต |
|
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 25 คน เข้าใจทิศทาง และแผนการดำเนินงานแก้ปัญหา NCD ตามประเด็น พชอ โดยการทบทวนแผนงานโครงการในปี 2566 |
ไม่มี |