การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ 61-ข-054 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-054
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2561 ถึงเดือน มีนาคม 2562
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอบ้านนาสาร |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ร่วมกำหนดกลุ่ม stakeholders ในพื้นที่ อำเภอนาสาร ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการวิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders ร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน ระดับอำเภอ และ รพสต จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีกลุ่ม stakeholders ดังนี้
1.อสม
2.ประธานชมรม อสม. กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างผู้ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และ เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบโครงการในการกำหนด กลุ่ม stakeholders ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผู้สูงอายุ กิจกรรมที่ทำจริง
|
2 | 0 |
2. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอคีรีรัฐนิคม |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อให้ ทราบรายละเอียดของกิจกรรม และวิธีการดำเนินงาน ของโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอศีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงกิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จะประกอบไป ด้วย การจัดประชุมคณะกรรมการ พัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพ พัฒนาศักยภาพกลไก DHB ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการดำเนินงาน อบรมการจัดทำแผนงานโครงการระดับตำบล เยี่ยมเสริมพลังชมรมผู้สูงอายุโดยชุมชน สรุปและถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชน จัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ และการสังเคราะห์ข้อมูล / ชุดความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสารตามแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม ได้ดำเนินไปมากกว่า ตัวแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการดูแล คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) โดยจะเน้นไปที่การดูแลกลุ่มติดบ้านติดเตียงไม่ให้อาการแย่ลง และช่วยฟื้นฟูร่างกายให้กลับมาช่วยเหลือตัวเองได้ ส่วนผู้สูงอายุที่ที่ช่วยเหลือตัวเองได้ มีการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร กิจกรรมที่ทำจริง-สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม
|
2 | 2 |
3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอบ้านนาสาร |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อให้ ทราบรายละเอียดของกิจกรรม และวิธีการดำเนินงาน ของโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงกิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จะประกอบไป ด้วย การจัดประชุมคณะกรรมการ พัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพ พัฒนาศักยภาพกลไก DHB ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการดำเนินงาน อบรมการจัดทำแผนงานโครงการระดับตำบล เยี่ยมเสริมพลังชมรมผู้สูงอายุโดยชุมชน สรุปและถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชน จัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ และการสังเคราะห์ข้อมูล / ชุดความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสารตามแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
การดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร ได้ดำเนินไปมากกว่า ตัวแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการดูแล คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ทั้ง 3 กลุ่มเป้าหมาย ทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอสาร เช่น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร กิจกรรมที่ทำจริง
|
2 | 2 |
4. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอคีรีรัฐนิคม |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ร่วมกำหนดกลุ่ม stakeholders ในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการวิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders ร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน ระดับอำเภอ และ รพสต จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีกลุ่ม stakeholders ดังนี้
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างผู้ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และ เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบโครงการในการกำหนด กลุ่ม stakeholders ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผู้สูงอายุ กิจกรรมที่ทำจริง
|
2 | 2 |
5. ประชุมเตรียมจัดทำเวที Public screening และ Public scoping |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เตรียมความพร้อม Public screening และ Public scoping ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม อาจารย์จาก สจรส.ม.อ. และผู้ประเมิน รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง นำเสนอและรับการวิพากษ์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมการเตรียมความพร้อม Public screening และ Public scoping กิจกรรมที่ทำจริงประชุม
|
10 | 0 |
6. การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 08:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้กรอบ การดำเนินงาน
กิจกรรมการดำเนินงานมีทั้งหมด 5 กลุ่ม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนPublic screening and Scoping กิจกรรมที่ทำจริง
|
30 | 0 |
7. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร |
||
วันที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) ตามกรอบ public scoping ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงการดำเนินงานผู้สูงอายุ
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนPublic Assessing โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping กิจกรรมที่ทำจริงสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping
|
5 | 6 |
8. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม |
||
วันที่ 20 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) ตามกรอบ public scoping กิจกรรมที่ทำจริงสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping
1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
|
5 | 6 |
9. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอบ้านนาสาร ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง-สำหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่า อำเภอบ้านนาสารและอำเภอคีรีรัฐนิคม มีรูปแบบการมีส่วนร่วมที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเพียงแค่รูปแบบกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ อำเภอบ้านนาสาร ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพและโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และกระทรวงมหาดไทยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมต่างภายในพื้นที่ เช่น รพ.สต. สสอ. รพ. และ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. และ อบต. และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียนผู้สูงอายุและการส่งเสริมอาชีพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้านการจัดทำแผนชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการทำ MOU เพื่อจัดทำหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ วัดมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนธรรมมะในชีวิตประจำวัน กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group) กิจกรรมที่ทำจริง-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)
|
6 | 6 |
10. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง-ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง โดยจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ โดยได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคมมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของผู้สูงอายุ ทีมสหวิชาชีพ และการประสานการดำเนินงานระหว่างศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต เช่น สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น กองทุน long term care มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุและงบประมาณสำหรับผู้สูงอายุที่มีความจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ อบจ. มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดสร้างและปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความพิการ ทุพลภาพ ที่ได้รับกายอุปกรณ์ ตลอดจนสนับสนุนเกี่ยวกับกายอุปกรณ์บางส่วน อบต.และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและดำเนินการในพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่สามารถทำงานเป็นรายได้เสริมได้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน-ารประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group) กิจกรรมที่ทำจริง-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)
|
5 | 5 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | ||||||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 40,000.00 | 0.00 | ||||||||||
คุณภาพกิจกรรม |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
(................................)
ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ