โครงการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ปี 66-70

ประชุมปรึกษาหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2566 - 257015 กันยายน 2564
15
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย สนส.ม.อ.
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการประชุม ปรึกษาหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2566 - 2570 วันพุธที่ 15 กันยายน 2564 เวลา 09.30 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมพิกุล ชั้น 3 อาคาร 3 ศาลากลางจังหวัดยะลา และเชื่อมโยงการสื่อสารโดยใช้ระบบ Zoom..meetings ไปยังศาลากลางจังหวัดปัตตานี และศาลากลางจังหวัดนราธิวาส

เวลา 09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม

เวลา 09.30 - 10.00 น. ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา หัวหน้ากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ประธานการประชุม กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์ ของการจัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน

เวลา 10.00 - 11.00 น. ชี้แจงการจัดทำและร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2566 - 2570 โดยฝ่ายเลขานุการ ก.บ.ก. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน และคณะที่ปรึกษา

เวลา 11.00 - 11.45 น. รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2566 - 2570 จากผู้เข้าร่วมการประชุม

เวลา 01.45 - 12.00 น. ประธานฯ กล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมประชุม และปิดการประชุม


circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถานการณปัญหา แบ่งเป็น 3 ประเด็น ได้แก่
1. สังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดี หลุดพ้นจากความยากจน สถานการณ์ปัจจุบันยังเป็นปัญหา ทั้งครัวเรือนยาก จน ระดับการศึกษา ความเหลื้อมล้ำ อัตราการว่างงาน สถานการความไม่สงบ โควิดเข้ามาซ้ำเติม ทำให้ปัญหามีความรุนแรงมากขึ้น 2. เศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ทำการเกษตร พบว่าอัตราผลผลิตต่ำกว่าค่าเฉลี่ยน พบการผันผวนราคา การแปรรูปมีน้อย การท่องเที่ยวแนวโน้มลดลง การค้าชายแดนภาวะถดถอย สถานการโควิดเปนตัวเร่ง 3. ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความเสื่อมโทรมทรัพยากร อุทกภัย การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ทำทำให้กระทบต่ออาชีพตามมา

เป้าหมาย 1. ศูนย์กลางการผลิตและแปรรูปที่สำคัญ ด้วยศักยภาพของพื้นที่ เหมาะแกการทำการเกษตร ปศุสัตว์ และอยู่ติดกับอ่าวไทย เป็นพื้นที่อาหารโซนภาคใต้ตอนล่างที่เชื่อมไปยังประเทศอาเซียน 2. ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ วัฒนธรรม อาหาร การท่องเที่ยวที่เชื่อมทั้งภภายในและกลุ่มอาเซียน 3. อุตสาหกรรม การค้าชายแดน อยุ่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน มี 4 ด่าน
4. บริบทสังคม พหุวัฒนธรรมเป็นต้นทุนของพื้นที่ การเพิ่มศักยภาพทุกช่วงวัย สร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อตลอดชีวิต ความยั่งยืนทางด้วยสิ่งแวดล้อมด้วย

ประเด็นเพิ่มเติม - การกำจัดขยะติดเชื้อ - พลังงานทดแทน - การแก้ปัญหาประมง ยกระดับการท่องเที่ยวทะเล - การท่องเที่ยวที่เชื่อมโยง