โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

ประชุมเตรียมงานวันที่ 7-9 เมษายน31 มีนาคม 2565
31
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเตรียมงานวันที่  7-9 เมษายน โดยการประชุมผ่าน Zoom ออนไลน์ เวลา 14.00 - 1ุ6.00 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อำเภอเม่นสูงมีหลายตำบล ยกระดับโดยมีประเด็นร่วมของทุกตำบล การขับเคลื่อนคือ ประเด็นตำบลขับเคลื่อนอยู่ยกระดับเป็นประเด็นของอำเภอ
นายอำเภอปั่นจักรยาน แถบทุกวัน ภรรยาเต้นแอโรบิกกับแม่บ้าน จัดอีเว้นในอำเภอบ่อย วิ่ง ปั่นจักยาน
แต่ล่ะตำบลเกิดกระบวนการธรรมนูญของพื้นที่ทำงานร่วมกับหลักประกัน เป็นกลไกการทำงานระดับตำบล ช่วงหลังมีพชเข้ามาทำให้เข้มแข็งมากขึ้น โดยมีนโยบายนำไปสู่แนวทางปฏิบัติ
มีแผนสุขภาพของตำบล และมีการนำเสนอใน 5 กลุ่มวัย ตามสถานการณ์ในประเด็นของพื้นที่ สูงวัย วัยทำงาน วัยเด็ก วัยเยาวชน กลุ่มข้าราชการบำนาญ โดยพื้นที่นี้มีกลุ่มราชการบำนาญเยอะ เกษียณก่อนวัย หรือวัยเกษียณ วันแรก (ผู้สูงอายุ วัยทำงาน) ช่วงเช้า-เที่ยง อยุ่ในห้อง เพื่อคุยเรื่องแผนการพัฒนา
นำแผนของพื้นที่นำมานำเสนอ จากอาจารย์ได้พัฒนาและทีมพี่เลี้ยง เยาวชน ใช้เรื่องกีฬา นันทนากร สูงอายุ กิจกรรมประจำวัน sport exercises
พิการ ติดเตียง การเคลื่อนไหว การกายภาพ ยืดหยุ่น
ไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปจนถึงโรค NCD ช่วงบ่าย เก็บสัมภาษณ์ผู้นำพื้นที่ ผู้นำกลุ่มวัยทำงาน สูงอายุ จิตอาสา และกลุ่มกิจกรรมนันทนาการ
ช่วงเย็น มีความหลากหลายวัย เยาวชนเล่นกีฬา วัยทำงานเดินวิ่ง ปั่นจักยาน รวมกลุ่มกิจกรรมทางกาย บาร์สโลป ที่จะเกิดขึ้นในตอนเย็น
กลุ่มที่ทำอาชีพเกี่ยวกับผักสวนครัว ใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมทางกายมาปลูกผัก บริโภค
และจำหน่าย วันที่สอง ศูนย์เด็กเล็ก สิ่งแวดล้อม
กิจกรรมทางกายที่มีการรวมกลุ่มตอนเย็น
ภายใต้การทำงาน มีโครงการที่มาจากกองทุนอยู่ส่วนนึง สสสส่วนนึง มาจากงบพัฒนาจังหวัดส่วนนึง ในการทำเรื่องตำบลสุขภาวะ ทางตำบลร่วมกับจังหวัด ยกระดับพื้นที่เพื่อเป็นตำบลสุขภาวะ ใช้งบกองทุน (เงินกองทุนหลักไปลงที่ โควิด รพสต) 1.หมู่ 9 ผู้สูงอายุปลูกผัก 2. line dance
3. ปั่นจักรยานไปฟังธรรมที่วัด (อยากสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่ยังปั่นจักรยานไปปวัดอยู่ คำนึงถึงความปลอดภัย) มีหลายมิติ พัฒนาต่อได้ แต่โครงการหยุดไปเพราะโควิดที่วัด
การที่ทำให้ชุมชนมีสุขภาพที่ดีควรมีชุมชนระดับท้องถิ่นร่วมมือ
กลไลกองทุนเคลื่อนอยู่ แต่ยังสามารถยกประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มากขึ้นอีก เพื่อยกระดับกองทุน ทำให้กองทุนมีศักยภาพเรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ NCD เหล้าบุหรี่ ยาเสพติด 2) สอนให้วางแผนเป็น รู้สถานการณ์ วางเป้าหมาย กำหนดโครงการ วิธีการดำเนินโครงการ
1.เครือข่ายวิชาการ พัฒนาแนวทาง/คู่มือ/webเพื่อการเรียนรู้
2. สร้างเครือข่ายพี่เลี้ยง ที่จะไปหนุนเสริมการทำงานของกองทุน 3.พัฒนาศักยภาพของผู้รับผิดชอบกองทุน 4.กระบวนการการติดตาม
5.ร่วมกันถอดบทเรียน กรณีศึกษา 6.การยกระดับการบูรณาการจากตำบลไปสู่ระดับอำเภออาศัยกลไก ของพัฒนาคุณภาพชีวิต ผลของการดำเนินการ ทีมเครือข่ายวิชาการ/ทีมระดับเขต/ทีมพี่เลี้ยง เห็นการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง การเปลี่ยนแปลงของชีวิตประจำวัน กติกาของชุมชน ป้ายจราจร ทำให้สุขภาพของชุมชนดีขึ้น โครงการมีชุมความรู้อะไร วิถีการดำเนินชีวิตเปลี่ยนยังไง กระบวนการทำงานเกิดอะไรใหม่ๆ ขึ้นมา มีการร่วมมือของเครือข่ายอะไรยังไง เป็นโครงการที่เกิดจากกองทุน
เงินกองทุน 1.ปัญหาอะไรเป็นปัญหาสำคัญ 2.แต่ละปัญหาควรแก้ไขโดยโครงการอะไร -ไปหา/ไปคุยกับหน่วยงาน เครือข่าย

1.เวทีการถอดบทเรียนโครงการดีๆ ของกองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า โดย เจ้าของโครงการ/เจ้าของโครงการอื่น ผู้รับผิดชองกองทุน กรรมการกองทุนบ้านเหล่า พี่เลี้ยง ผู้ประสานงานเขต ทีมวิชาการ มีนายอำเภอมาร่วมฟัง/สสอ มาร่วมฟัง