โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่10 กุมภาพันธ์ 2565
10
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16.00-18.30 น. zoom ออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029103 ณ ห้องประชุม1403 ขั้น 14 ตึก LRC สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
เขต 4
• ตอนนี้ได้คัดเลือกกองทุนต้นแบบแล้ว
• มี 4 กองทุนที่มารับทุนไปแล้ว • วันที่ 11 กพ. 65 จะมีการจัดประชุมทบทวนกระบวนการ ผลสำเร็จของโครงการที่บางม่วง พบตอนนี้ข้อมูลในเว็บยังไม่ค่อยสมบูรณ์ • วันที่ 16 กพ.ที่จะลงพื้นที่ ตอนนี้ตอบรับมา 11 คน เน้นพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กองทุนด้วย

เขต 10
• การประชุมวันที่ 14 ก.พ.นี้ จะเน้นพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง และ • ตอนนี้มีกองทุนต้นแบบแล้ว 32 กองทุน
• มีโครงการที่ผ่านการอนุมัติน้อย • หลังจากนี้พี่เลี้ยงแต่ละคนจะลงพื้นที่เพื่อปรับปรุงคุณภาพ • เป้ากองทุนต้นแบบ 30 จาก 53 กองทุน แต่ยังไม่มีคุณภาพมากนัก • ตัวแผนไม่ค่อยมีปัญหา แต่มีปัญหาเรื่องการอนุมัติเพราะจะมีการเข้าอนุมัติเดือนมีนาคมทั้งหมด • วันที่ 16 กพ. นัดหมายผู้เข้าร่วมไว้ 20 คน แต่มีจ.น่านที่ไม่แน่ใจว่าจะออกจากพื้นที่ได้มั้ย • ลงในระบบแล้วบ้างบางโครงการอยากให้ม.อ. สร้างแบบประเมินความรู้ผู้รับผิดชอบ (ความหมาย PA, การทำแผน, การทำโครงการ)

เขต 12 - พื้นที่ต้นแบบตามเป้า 60 พื้นที่ ตอนนี้อยู่ในช่วงคัดเลือก ตอนนี้ได้จากพื้นที่ของสงขลา ปัตตานี ส่วนสตูลยังไม่เกิด - พี่เลี้ยงที่เข้าร่วมประชุมไม่เกิน 60 คน จาก 2 จังหวัด สงขลา ปัตตานี
- ได้ให้พี่เลี้ยงช่วยเติมชื่อพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบกองทุนในไฟล์ excel แล้วให้ส่งกลับมา - ให้พี่เลี้ยงส่งรายชื่อกองทุนได้ผ่านการคัดเลือกเป็นกองทุนต้นแบบ - ให้แกนนำพี่เลี้ยงเตรียมตัวสัมภาษณ์ การทำงานในพื้นที่และกระบวนการทำแผน โครงการ ติดตามประเมิน เป็นอย่างไรบ้าง

สรุปประเด็นสำคัญที่ดำเนินการความก้าวหน้าต่อ
1. พี่เลี้ยงส่งรายชื่อกองทุนต้นแบบ PA
2. พี่เลี้ยงส่งไฟล์ Excel รายชื่อผู้รับผิดชอบกองทุน
3. สนส.มอ. เร่งสร้างแบบประเมินความรู้ผู้รับผิดชอบ (ความหมาย PA, การทำแผน, การทำโครงการ) และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ PA ที่สามารถให้พี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กองทุน ผู้เสนอรับโครงการเข้ามาเรียนรู้หลักการในการทำแผน การเขียนโครงการ และมีการวัดผลกาสรเรียนรู้
4. ให้โปรแกรมเมอร์ปรับหน้าเว้บโครงการนำร่อง PA ให้สามารถดูแยกรายเขต รายอำเภอ รายตำบล ได้ และประมวลผลความสมบูรณ์