diversity_2

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 12 ที่ จ.สงขลา

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 12 ที่ จ.สงขลา

18 ธันวาคม 2564
Yuttipong KaewtongYuttipong Kaewtong
รายงานจากพื้นที่
Project owner
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย ในวันที่ 18-19 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม1402 ขั้น 14 ตึก LRC
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กลไกแบ่งได้ดังนี้ 1. กลไก ระดับตำบล : กองทุนตำบล/ พชต. 2. ระดับอำเภอ : พชอ.
3. ระดับจังหวัด : พชจ. 4. ระดับเขต : กขป./ อปสข./ผู้ตรวจ

แผนการดำเนินงาน 1. ต้องทำให้พี่เลี้ยง “เก่ง” เขต 1 : แพร่
เขต 4 : นนทบุรี
เขต 10 ; อุบลฯ เขต 12 : 5 จังหวัด ต้องทำให้พี่เลี้ยงเข้าใจ และทำด้วย

2. ทำอย่างไรจะทำให้ PA เพิ่มอย่างเพียงพอ<br />
PA รู้/ทำ ทำอย่างไรจะทำให้ PA เพิ่มอย่างเพียงพอ
ถ่ายทอด/พี่เลี้ยงให้กับพื้นที่<br />
ทำแผน/พัฒนาโครงการ/ติดตามประเมินผล<br />
  • ยกตัวอย่าง สถานกาณ์ PA ของ อบต.กำแพง อ.ละงู จ.สตูล
  • PA ระดับปานกลางเท่านั้น การทำโครงการต้องทำระดับปานกลางเท่านั้น

แลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยง คำถามการที่พี่เลี้ยงไปถ่ายทอดให้ตำบลจะพูดเรื่อง PA อย่างไร
1. ปัตตานี : PA กับการละเล่นสมัยก่อน เช่น การเล่นลูกข่าง เวลาเล่นมากกว่า 1 ชั่วโมง ตรงนี้ให้ผู้รับทุนออกไปว่าเด็กชอบการละเล่นอะไรให้จัดกิจกรรมนั้นๆ - 2. สตูล: เด็กตอนนี้ไม่มีพื้นที่เล่น ให้ทางโรงเรียนเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ทำความร่วมมือกับโรงเรียนให้มี PA เพียงพอ / เมื่อกลับไปบ้านไม่มีสถานที่ ครอบครัวควรมีสถานที่เล่นให้กับเด็ก / ตอนนี้ทุกที่จะเป็นพื้นที่อันตรายไปหมดทำให้ไม่กล้าออกมาเล่น / ดูในระดับพื้นที่
: มองว่าปัญหาในโรงเรียนมีครูพละ วิชาพละ แต่ปัญหาอยู่ที่ อบต.จะอนุมัติโครงการให้เขาทำไหม / สิ่งสำคัญกองทุนอนุมัติให้เขาทำ / ตอนนี้มีปัญหาโควิด ไปบั่นทอนการออกกำลังกายของเด็ก / พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญตรวนี้ ต้องไปทั้งครอบครัว
: การสร้างแรงจูงใจ เช่น โรงเรียนมีรางวัล รณรงค์ให้เขาตระหนักการออกกำลังกาย / การมีแรงจูงใจคะแนนจิตพิสัย / ท้ากันออกกำลังกาย ปรับเรื่องอาหาร การได้ทองคนละเส้น ทำให้อยากแข่งขัน น่าจะไม่ยากที่จะทำได้ เป็นแรงจูงใจ / ถ้าในโรงเรียนทำง่ายครูมีความเข้าใจ เด็กจัด PA mเพียงพอ เด็กมีการส่ง PA แต่ละวันให้ครูเป็นการเก็บข้อมูล ถ้าเป็นโรงเรียนนำร่อง

  1. พัทลุง : สร้างการรับรู้ให้กับพื้นที่ / มีแผน PA / ครอบครัวเดินชวนวิ่งปั่น / จักรยานสานฝันวันอาทิตย์
    ในโรงเรียน ไม่ค่อยเป็นห่วง / สร้างสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในชุมชน / สร้างถนนสุขภาพ เป็นสัญลักษณ์ถนนเดินวิ่งปั่น
  2. สงขลา : มองโรงเรียน/ครอบครัว/ชุมชน
    : โรงเรียนหลักสูตร active learning : ช่วงนี้เป็นช่วงโควิด ทำให้มีการเรียนออนไลน์ คิดเครื่องมือ ถุงยังเล่น > จัดอุปกรณ์ที่เล่นที่บ้านได้ กระดาษ พับกระดาษ ดินน้ำมัน / แต่ละพื้นที่จะมีเอกลักษณ์ต่างๆกันไป : ครอบครัวกีฬาสัมพันธ์ครอบครัว จัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในเชิงครอบครัวชุมชน
    : ในกลุ่มเด็กไม่ค่อยขาดในโรงเรียน แต่น่าจะขาดในชุมชน / เด็กบางคนเล่นเกมส์ / ให้ใช้การละเล่นพื้นบ้าน การแข่งขันแลกเปลี่ยนระหว่างหมู่บ้านชุมชน / การให้รางวัลสิ่งจูงใจ การให้รางวัลระดับชุมชน / ให้กองทุนทำเกณฑ์กลาง ให้วางรางวัลระยะสั่น
  3. ยะลา :  การปรับสภาพแวดล้อมให้เด็กไปออกกำลังกาย ทำถนนรอบๆทุ่งนา / บางคนมาเดินมาวิ่ง / กระแสทางสังคม / ถ้าหมู่บ้านไหนไม่มีการออกกำลังกายจะไม่มีการออกกำลังกาย / การมีกลไกชมรมมาช่วย

บูรณาการกับประเด็นอื่นๆ
1. การแก้ปัญหาเด็กติดเกม ยาเสพติด การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2. เกษตร-อาหาร > ในและนอกโรงเรียน 3. สิงแวดล้อม > ไปอนุรักษ์ป่าชายเลน / ขยะ/ป่าชายเลน 4. อาชีพ > ทำอย่างไรให้ช่วยครอบครัว เช่น ครอบครัวเป็นเกษตรกรทำร้านอาหาร > แก้ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว /เชื่อมกับศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา / รำโนราห์ ลิเกฮูลู / นวดแพทย์แผนไทย / แพทย์แผนลังกาสุกะ

โจทย์แลกเปลี่ยน ให้คิดว่าวิธีการทำอะไร > คิดเสร็จเป็นค่อยแปลงเป็นโครงการ
1. ในเด็กควรมีโครงการ PA ที่เพียงพอ
2. ในวัยทำงาน
3. ในผู้สุงอายุ

ในชุมชนเวลาดูสถานการณ์ 1. เด็กมี PA เพียงพอ 74.05 %
PA เพียงพอ 74.05 PA ไม่เพียงพอ 10.00 ไม่มี PA 15.05

โครงการ เพิ่มการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค
- สถานการณ์ PA วัยทำงาน 55 % - แก้ปัญหาโดยให้เต้น / กิจกรรม แอโรบิค
1) ค่าคนนำเต้น 2) ค่าอาหารว่าง / เครื่องดื่ม 3) ค่าเครื่องเสียง (ค่าเช่า) - กลุ่มเป้าหมาย : -30 คน
เต้นอาทิตย์ละ 5 วัน
งบ 50,000 บาท

แลกเปลี่ยนเพิ่มเติมกิจกรรม 1. วิเคราะห์กลุ่มมีสุขภาพอย่างไร

***โจทย์ หยิบมทา 1 กองทุนปี 65 แล้วลงทำแผน ปรับสถานการณ์ เป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ

การบ้าน 1. ทำแผน PA ปี 65 / สร้าง + ทบทวน ปรับสถานการณ์
เป้าหมาย เพิ่มโครงการที่จะบรรลุเป้าหมาย
2. เลือกมา 1 โครงการ
มาเขียน/ทบทวน ให้โครงการมีความสมบูรณ์

แลกเปลี่ยนโครงการ PA
จ.สตูล : โครงการ การเก็บข้อมูล ไปเก็บข้อมูล - วิถีคลองขุดเป็นชุมชนเมือง การใช้จักรยานน้อย - โครงการมโนราห์เพื่อสุขภาพ

รายงานการใช้เงิน
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆรวมรายจ่ายสถานะ
53,000.00 0.00 108,752.00 9,202.00 207.00 0.00 171,161.00 lock