โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 4 ที่ จ. นนทบุรี4 ธันวาคม 2564
4
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันเสาร์ที่ 4 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-16.30 น.
เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กำหนดการ 08.30 – 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

09.00 – 10.30 น. - ฝึกปฏิบัติการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

10.30 – 12.00 น. - การแปลงรูปแบบและกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ เป็นโครงการที่มีคุณภาพ

12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร

13.00 – 16.00 น. - ฝึกปฏิบัติการเรื่องการติดตามประเมินผล

16.00 – 17.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประชุม 1. ที่ผ่านมาทางคณะทำงานเขต 4 ได้แนะนำการกรอกข้อมูลสถานการณ์ PA
2. ข้อมูล PA ใช้ข้อมูล PA ปี 2563 3. ที่มาของงบ สสส. และการดำเนินงานของ ทำเรื่อง เพิ่มกิจกรรมทางกาย อาหาร ลดปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่ 4. สปสช.ตั้งงบประมาณ เป็นแหล่งทุนในท้องถิ่นให้คนในชุมชนมาใช้เงินกองทุน
เงินกองทุนใช้ในการส่งเสริมป้องกันเป็นหลัก และทาง สสส.ไปหนุนเสริมเพิ่มศักยภาพในการทำแผนงาน โครงการในกองทุนสุขภาพตำบล 5. คนไทยเสียค่ารักษาโรคเรื้องรังมาก สาเหตุจากปัจจัย 2 อย่าง
- พฤติกรรมการกิน เสี่ยงโรค เป็นพฤติกรรมที่สร้างปัญหาสุขภาพ - การที่ไม่มีการออกแรง / เมือก่อนเรียกออกกำกาย / ปัจจุบันใช้คำว่า กิจกรรมทางกาย
6. การมีกิจกรรมทางกาย ช่วยให้คนแอคทีฟ ชาติแอคทีฟ 7. การมีพฤติกรรมเนือยนิ่งสูง เช่น นั่งประชุมทั้งวัน มีภาวะเนือยนิ่ง / สิ่งที่สำคัญคือ พยายามให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ
8. โครงการปีนี้ทำอย่างไรให้มี PA ที่เพียงพอ

  • สถานการณ์ PA ของประเทศ ปี 64
  1. เด็ก 24.2 %
  2. วัยทำงาน 66.8 %
  3. ผู้สูงอายุ 55.6 %
  • PA มีความสัมพันธ์ทำให้เด็กเก่งขึ้น ถ้า PA น้อยอนาคตจะไม่ค่อยแอคทีฟ
  • ยกตัวอย่างสถานการณ์บ้านบางม่วง
  • สถานการณ์ระดับชาติ ระดับเขต ระดับอำเภอ และระดับตำบล

การคำนวณกลุ่มเป้าหมาย 1. รักษาคนเดิม 2. เพิ่มคนใหม่

การทำให้โครงการสำเร็จ 1. ทำให้คนเก่งขึ้น 2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อ 3. กลไก

ตัวอย่างการเต้นแอโรบิค
1. คน : สร้างครูให้เก่งขึ้น มีหลักสูตรครูเต้นแอรโรบิค มีครู 20 คน
2. สภาพแวดล้อม : ให้คนเข้าถึงได้ ให้สามารถเต้นได้ใกล้ๆ 3. กลไก : ทำให้ชมรมเข็มแข็งขึ้น มีเทศบาลมาช่วยเป็นพี่เลี้ยงมาช่วย

ช่วงบ่าย

  1. การทำแผนต้องมีโครงการอะไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น
    เด็กมี PA 35 เปอร์เซ็น /ปีหน้าจะมี 50 เปอร์เซ็น ต้องทำอะไร ต้องมีโครงการอะไรบ้าง
    ถ้าไม่มีโครงการ แผนจะไม่สมบูรณ์
    ต้องเขียนวิธีการให้เห็นชัดเจน

แลกเปลี่ยนคำถาม
ถ้าจะทำให้เด็กมี PA เพิ่มขึ้นต้องทำอะไร / มีโครงการ 5-17 ปี 1. ทำให้เด็กปลูกผัก ทำเรื่องอาหารด้วย 2. สนับสนุนเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก จะมีผู้ดูแล / จัดงบประมาณให้ได้มากๆ
3. ออกกำลังกายหน้าเสาธง 4. เดินเรียน / ปลูกข้าวในแปลงเรียนรู้ 5. จัดตั้งศูนย์กีฬา 6. ท้องถิ่นปรับปรุงการมีเลนจักรยาน การปรับปรุงพื้นที่ และการมีเครื่องเล่น 7. การเล่นวอลเลย์บอล ตีแบต การสนับสนุนของผู้ปกครอง การกลับบ้าน สนับสนนุให้ลุกออกไปทำกิจกรรมกับเพื่อน 8. แอโรบิค สำหรับเด็ก
9. ชมรมเด็กในชุมชน การรวมกลุ่มมาออกกำลังกาย สันทนาการ งานประดิษฐ์งานฝีมือ
10. ความสัมพันธ์ในครอบครัว เด็กกับพ่อแม่ ให้นักเรียนทำการบ้าน ทำกิจกรรมกับพ่อแม่ 30 นาที
11. การส่งเสริมอุปกรณ์กีฬา การจัดตั้งจุดอุปกรณ์ออกกำลังกาย
12. ท้องถิ่น พื้นที่เด็กทำกิจกรรม พื้นที่ สนามกีฬาสำหรับเด็ก

ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน ท้องถิ่น

PA ไปเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นๆ เช่น เด็กติดเกม ติดยา ท้องไม่พร้อม > เอากีฬา PA มา อ.พงคืเทพแนะนำ 1. จิตอาสา ชมรมรักสิ่งแวดล้อม 2. ลงไปช่วยเกษตร
3. ทำสวนผักในเมือง
4. ปุ๋ยชีวภาพ
5. การละเล่นมวยไทย รำกระบี่กระบอง

การเชื่อมโยงอื่นๆ ทำให้เด็กมีจิตสำนึกเพิ่มขึ้น
ต้อง


2. ถ้าวัยทำงาน จะทำโครงการ / ถ้าเพิ่ม PA - จัดกิจกรรมออกกำลังกาย การวิ่ง
- ที่ทำงานปกตินั่งทำงานยาวๆ / เช่น เบรกเช้า 15 นาที / บ่าย 15 นาที - กิจกรรม 5 ส / โยคะ - จัดสภาพแวดล้อม / รณรงค์ - กิจกรรมยืดกล้ามเนื้อระหว่างทำงาน
- เดินการใช้ลิฟ - ส่งเสริมการเดินทางรถจักรยาน
- ส่งเสริมการออกกำลังกายกีฬา ว่ายน้ำ / ส่งเสริมการว่ายน้ำในชุมชน
- โครงการท้าใจ รวมตัวในที่ทำงาน เช่น มีกลุ่มที่ชอบขี่จักรยานมารายงาน กลุ่มนึงชอบฟิสเนต ท้าในไลน์กลุ่ม - ชุมชนสถานประกอบการ ส่งเสริมให้มีกิจกรรม ด้านสิ่งแวดล้อมดูแลสถานประกอบการณ์

อ.พงค์เทพยกตัวอย่าง
- เช่น โครงการลงแขกทำกิจกรรม / ทำกิจกรรมเก็บขยะ - ที่บางกล่ำ พระกับคนในหมู่บ้าน ทุกวันจะปลุกต้นโกศล ทุกคนลงมาช่วยปลูก / ส่งเสริมการท่องเที่ยวเศรษฐกิจในชุมชน
- PA มีหลายรูปแบบ พื้นที่สาธารณะ แปลงเกษตรครบวงจร / ศูนย์เพาะพันธุ์เมล็ดพืช
ในฐานนะเป็นต้นแบบพี่เลี้ยง
- สวนสาธารณะ - ทำกิจกรรมร่วมกัน ปลุกผักสวนครัว รั่วกินได้


วัยผุ้สูงอายุ
- ดูแลผุ้สุงอายุติดบ้าน ปลุกผักรดน้ำพรวนดินในบ้าน / มีตัวแทนออกไปชักจุง พบคุย / รดน้ำผัก รดน้ำต้นไม้ ทำกิจกรรมส่งเสริม - ทำกายภาพบำบัด
- ส่งเสริมผุ้สุงอายุเข้าวัด
- ชมรมผุ้สุงอายุ รวมกลุ่มคนที่สามารถออกกิจกรรมได้
- กิจกรรมเดือนละครั้งได้ออกมา การจัดลีลาส
- สนับสนุนการแกว่งแขนทำได้ - ปลูกต้นไม้ / แชร์การปลูกต้นไม้ทีอบ แชร์การปลูกต้นไม้ - ท้องถิ่น สร้างกลุ่มไลน์ในผุ้สุงอายุ ส่งเสริม PA - ส่งเสริมกิจกรรรมในครัวเรือน พาผถชุ้อายุไปออกกำลังกาย / - กระตุ้นไม่เป็นโรคซึมเศร้าใช้เสียงเพลง - โรงเรียนผู้สูงอายุ ทำกิจกรรมร่วมกัน
- การเสริมสร้างอาชีพผุ้สุงอายุ /
- ส่งเสริมให้มีการเดินมากขึ้น / บ่อนเปตง / ส่งเสริมให้มีการเดิน
- ข้อเข่าสมุไพร / นำสมุนไพรที่ รพสต.มาเปนพี่เลี้ยงแนะนำ
- จัดตั้งอาสาบริการผุ้สุงอายุติดเตียบชงติดบ้าน การรวมกลุ่ม การขยับการออกกำลังกาย รอรับยา การสร้างชุมชนมผุ้สุงอายุในการออกกำลังกาย กิจกรรมเพื่อนช่วย้เพื่อน
การเพิ่มพื้นที่สาธารณะ การใช้ประโยชน์ ไปด

การจัดทำโครงการ
ปัจจัยสำคัญ -สถานการณ์

กิจกรรม 1. ทำให้คนเก่งขึ้น 2. ทำให้สภาพแวดล้อมเอื้อ 3. มีกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ยกตัวอย่าง
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ
การทำโครงการ ต้องทำให้สำเร็จ ไม่ใช่ทำให้เสร็จ

เริ่มต้นคิดว่าจะทำโครงการอะไร ทำให้เห็นว่ามีการวางสถานการณ์ เป้าหมาย