directions_run

โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย : จ.สตูล อ.เมือง ต.พิมาน

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1.1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ จำนวน 1 ครั้ง 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานโครงการ- จัดทำข้อมูลและฐานข้อมูลชุมชน (ทำงานร่วมกับโครงการพัฒนาตำบลแบบบูรณาการ ของกรมการปกครอง) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อนำข้อมูลใช้วางแผนและตัดสินใจจัดทำแผน แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

2.1 การประชุมเกษตรกร ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ร้านค้า กลุ่มอาชีพในตำบล 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

2.2 ปฏิบัติการยกระดับการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรในชุมชน - การพัฒนาผลผลิตการเกษตร โดยใช้ความรู้ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น - มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร - ปฏิบัติการพัฒนาสินค้าเกษตร/ การยกระดับแปรรูปอาหารให้มีมาตรฐานและมูลค่าเพิ่ม - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

2.3 การติดตามประเมินสภาพแวดล้อม แหล่งผลิตอาหารของชุมชน การผลิตสินค้า OTOP 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

2.4 พัฒนาการตลาด การสร้างกลไก Matching Model 8 ก.ค. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ 9 ก.ค. 2564 9 ก.ค. 2564

 

ประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ

 

แลกเปลี่ยนข้อมูลโครงการ ได้แก่
1. ปลูกพืชแนวตั้งในครัวเรือน
2. น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน โดยจะใช้พื้นที่วัดเป็นศูนย์กลาง
3. พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ กลุ่มเลี้ยงแพะ กลุ่มเลี้ยงปูนิ่ม กลุ่มรักษ์สุขภาพ กลุ่มทำปลาส้ม

 

ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด 29 ก.ค. 2564 29 ก.ค. 2564

 

ประชุมวางแผนการทำงานในช่วงการระบาดของโควิด

 

แนวทางการดำเนินงาน 1. สำรวจครัวเรือนยากจนมาให้ได้ มีกี่ครัวเรือน รายได้ตกเกณฑ์กี่ครัวเรือน 2. การจัดกิจกรรม ให้จัดกลุ่มเล็กๆ 1-5 คน ก่อนถ้ามีการระบาด ออกแบบกิจกรรมให้เซฟเรื่องโควิดมากที่สุดก่อน

สรุป
- กิจกรรมที่ตำบลพิมานดำเนินการก่อนในช่วงนี้ คือ
1. การปลูกพืชแนวตั้ง
2. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

 

ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง 9 ก.ย. 2564 9 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม  จำนวน 13 ครัวเรือน

 

กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมายครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก 7 ต.ค. 2564 7 ต.ค. 2564

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน โคกพยอม,โรงพระสามัคคี,คลองเส็นเต็น รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 12 คน

 

จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก 14 ต.ค. 2564 14 ต.ค. 2564

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ทุ่งเฉลิมสุข,ชนาธิป,ท่าไม้ไผ่ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 20 คน

 

จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด

 

ติดตามผลการปลูกพื้นแนวตั้ง 15 พ.ย. 2564 6 ธ.ค. 2564

 

จำนวนชุมชนจากทั้งหมด 20 ชุมชน ในตำบลพิมาน มีจำนวนชุมชนเข้าร่วมทั้งสิ้นทั้งหมด 13 ชุมชน โดยรายชื่อชุมชนที่ไม่เข้าร่วมได้แก่ หลังโรงพัก, บ้านหัวทาง, เมืองพิมาน, สัตยารามทุ่งเฉลิมตะวันออก และจงหัว ตามลำดับโดยมีจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 69 คน ก่อนได้รับการอบรม และหลังจากได้รับการอบรมเสร็จสิ้น และเริ่มดำเนินการติดตามประเมินผลในแต่ละชุมชนทั้งสิ้น 13 ชุมชน มีชุมชนศาลากันตงที่ไม่สามารถทำการเพาะปลูกได้ หลังจากมีการติดตามประเมินผลทำให้ชุมชนที่เข้าร่วมจะเหลือ 12 ชุมชน โดยมีจำนวนที่ยังคงสามารถติดตามผล และประเมินผลได้ทั้งสิ้น 51 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 69 คน คิดเป็น 73.9 %

 

โดยปัญหาที่เกิดขึ้นของชุมชนที่ไม่เข้าร่วม คือ การแพร่ระบาดของโรค covid-19 ที่ยังมีความรุนแรงในช่วงระยะเวลาในการอบรม ทำให้กลุ่มชุมชนดังกล่าวไม่สะดวกในการเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการลดรายจ่ายในครัวเรือนด้วยวิธีการเกษตรได้ ซึ่งผู้ที่เข้าร่วมในโครงการจะมีปัญหาระหว่างดำเนินการติดตามผล ดังนี้ ปัญหาด้านศัตรูพืช เช่น หนอน, ไก่, หมา, แมว, ลิง และหอยทาก เป็นต้น อีกทั้งปัญหาคุณภาพดินที่ใช้ในการเพาะปลูกมีสารอาหารที่ไม่เพียงพอ ทำให้พืชเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ และยังมีผู้เข้าร่วมโครงการบางส่วนที่ไม่มีเวลา เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่ทำอาชีพค้าขาย และรับจ้างทั่วไป จึงมีเวลาน้อยในการเพาะปลูก

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก 15 พ.ย. 2564 15 พ.ย. 2564

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน ม้าขาว,ปานชูรำลึก,เทศบาล4 รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 13คน

 

จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูก 30 พ.ย. 2564 30 พ.ย. 2564

 

ร่วมกันติดตามผลรับทราบปัญหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์เเละอุปกรณ์ในการเพาะปลูกรวมถึงแจกเมล็ดพันธุ์พืช ดิน ถุงและถาดเพาะ ในชุมชน สี่แยกคอกเป็ด,ห้องสมุด,ท่านายเนาว์ รวมกลุ่มเปราะบางจำนวน 11 คน

 

จากการติดตามผล พบว่ากลุ่มเปราะบางได้มีการเพาะเมล็ดพันธุ์ผัก เเละปลูกในภาชนะเหลือใช้ที่หาได้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง เเละขวด

 

อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing 14 ธ.ค. 2564 13 ธ.ค. 2564

 

อบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น

***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด

 

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์

 

อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing 14 ธ.ค. 2564

 

 

 

 

 

อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing 14 ธ.ค. 2564 15 ธ.ค. 2564

 

โครงการอบรมยกระดับวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมาน  มีกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มสตรีปลาส้ม (สินค้า OTOP 4 ดาว)  , วิสาหกิจกลุ่มเลี้ยงเเพะ, วิสาหกิจรักสุขภาพ, วิสาหกิจกกลุ่มสหพันธ์เกษตรกรปูนิ่ม เพื่อสร้างความเข้มแข็งภายในกลุ่ม

 

1.พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสหากิจชุมชน ต.พิมาน ให้เป็นระบบและเป็นประสิทธิภาพ 2.ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าและสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนวิสาหกิจ 3.ส่งเสิรมการตลาดและการประชาสัมพันธ์ วิสหากิจชุมชนตำบลพิมานให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น

 

อบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Marketing 14 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

อบรมในหัวข้อ 1) พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ตำบลพิมานให้เป็นระบบเเละมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเเละสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมาน 3) ส่งเสริมด้านการตลาดเเละการประชาสัมพันธ์วิสาหกิจชุมชนพิมานให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้น

***หมายเหตุ ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ(พี่นุช)รับผิดชอบในการดูแลเบิกจ่ายทั้งหมด

 

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลพิมานมีความเข้าใจในด้านการจัดการกลุ่มทั้งด้านการตลาด การเพิ่มมูลค่าสินค้าเเละการประชาสัมพันธ์

 

ประชุมวางแผนออกแบบกิจกรรม 31 ส.ค. 2564 31 ส.ค. 2564

 

ประชุมวางแผนเพื่อออกแบบกิจกรรมปฏิบัติการยกระดับเศรษฐกิจชุมชน โดยวางแผนกับดร.สมยศ ทุ่งหว้า อดีตอาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และนายสุริยา ฉาดหลี จากนักวิชาการเกษตรจากสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสตูลเมื่อวางแผนและกำหนดวันปฏิบัติกิจกรรมแล้วได้มีการนัดแนะวันเวลาสถานที่และเนื้อหากิจกรรมเบื้องต้นกับกลุ่มเป้าหมาย

 

กิจกรรมที่จะจัดมีทั้งหมด 2 กิจกรรม ได้แก่ 1.ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง และ 2.ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน โดยจะจัดที่บริเวณวัดชนาธิปเฉลิม ในวันที่ 7,9,14และ 16 กันยายน 2564 โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมทั้งหมด 69 ครัวเรือนแบ่งเป็นวันละประมาณ 15-18 ครัวเรือนและได้แจ้งกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดได้ทราบถึงการจัดกิจกรรม

 

ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง 7 ก.ย. 2564 7 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม  จำนวน 13 ครัวเรือน

 

กลุ่มเป้าหมาย  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท

 

ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน 7 ก.ย. 2564 7 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 13 ครัวเรือน

 

กลุ่มเป้าหมาย  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
-ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน

 

ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง 9 ก.ย. 2564

 

 

 

 

 

ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน 9 ก.ย. 2564 9 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม  จำนวน 13 ครัวเรือน

 

  • กลุ่มเป้าหมาย  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
    -ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน

 

ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง 14 ก.ย. 2564 14 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 ครัวเรือน

 

กลุ่มเป้าหมาย  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
- กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท

 

ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน 14 ก.ย. 2564 14 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม  จำนวน 20 ครัวเรือน

 

  • กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
    -ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1 ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน

 

ปฏิบัติการโครงการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง 16 ก.ย. 2564 16 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำเกษตรแนวตั้งและแจกเมล็ดพันธุ์ผักกับอุปกรณ์ในการปลูกผักเบื้องต้นเพื่อในไปปลูกในครัวเรือนให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน

 

  • กลุ่มเป้าหมาย  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องปลูกพืชผักสวนครัวแนวตั้ง มีทักษะนำกลับไปปฏิบัติที่บ้านต่อได้
  • กลุ่มเป้าหมาย มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยต่อครัวเรือนเดือนละประมาณ 5000 บาท ตั้งเป้าหมายจากการปลูกผักสวนครัวให้สามารถลดรายจ่ายได้เดือนละ 200-500 บาท

 

ปฏิบัติการโครงการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือน 16 ก.ย. 2564 16 ก.ย. 2564

 

สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารให้แก่ ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 10 ครัวเรือน

 

  • กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและสามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านต่อได้
    -ได้น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารในครัวเรือนทั้งหมด 1 ถังประมาณ 100 กิโลกรัมยังไม่พร้อมใช้งาน