โครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

(ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 230 ตุลาคม 2561
30
ตุลาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน
circle
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การจัดประชุม09.00 น.โดยป้องกันภัยจังหวัดภูเก็ต เล็งถึงปัญหาว่าภัยพิบัติเป็นสิ่งสำคัญต่อชีวิตและทรัพย์สินมาก ต้องมีการทำงานเป็นทีม ต้องมีการเข้าใจวิธีการ หลักการทำงาน ภัยมีหลากหลาย แต่เราต้องเข้าใจและรู้ทุกอย่างทั้งก่อนเกิดภัย ขญณะเกิดภัย หลังเกิดภัย เราต้องมีข้อมูลคน ข้อมูลคนติดเตียง ผู้พิการ เดิกทารก ผู่ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องเก็บข้อมูลอย่างละเอียด ต้องรู้ว่าเรามีเครื่องมือไดบ้างที่สามารถเข้าไปทำงานในการช่วยเหลือด้านภัยพิบัติ เช่น เครื่องเลื่อย มีดพร้า รถ ยา คน ความพร้อม ฯลฯ ช่วงบ่ายจัดกลุ่มวาดแผนที่ทำมือของแต่ละอำเภอ จัดหาจุดเสี่ยงภัย จุดปลอดภัย เส้นทางหลบหลีกหรือเส้นทางอพยพเวลาเกิดภัย จัดตั้งคณะทะงานระดับตำบลและระดับอำเภอ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดโครงสร้างในพื้นที่/จัดต้้งคณะกรรมการภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต มีการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล อำเภอ และรวบรวมในระดับจังหวัด
มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 52 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

ชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัย เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 43 คณะทำงาน  3 คน พี่เลี้ยงในพื้นที่ 6 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่