โครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติระดับจังหวัดพังงา29 เมษายน 2561
29
เมษายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน
circle
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกิดกลไกการประสานงานในระดับจังหวัด 2. เพื่อให้ได้แผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด 3.เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัด
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยในตำบล 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำความเข้าใจถึงความสำคัญของการมีแผนการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน มีขั้นตอนในการดำเนินการโดยต้องมีการร่วมกลุ่มกันในชุมชนและทำความเข้ากับชาวบ้านให้รู้ถึงความหมายของการมีแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัย และมีการประชุมกันในพื้นที่ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการและทีมทำงานในชุมชน และวางแผนการการขับเคลื่อนกระบวนการเตรียมความพร้อมในชุมชน ให้พื้นที่วางแผนงาน โดยทีมทำงานโครงการจะเป็นพี่เลี้ยงคอยแนะนำและร่วมประชุม ให้แต่ละพื้นที่นัดประชุมกันและประสานกับทมเลขาโครงการเพื่อเข้าร่วมประชุมด้วย แต่ละพื้นที่มี 1.ตำบลพรุใน 2.ตำบลตำตัว 3.ตำบลทุ่งมะพร้าว 4.ตำบลโคกกลอย 5.ตำบลคลองเคียน 6.ตำบลนบปริง 7.ตำบลรมณีย์ 8.ตำบลบ่อแสน 9.ตำบลบางเหรียง 10.ตำบลบางเตย 11.ตำบลนาเตย 12.ตำบลเกาะยาวใหญ่ 13.ตำบลถ้ำ ได้มีการจัดทำแผนงานเสนอ และจะกลับไปวางแผนการประชุมประสานความร่วมมือในชุมชน 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 39 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

พื้นที่ตำบลเสี่ยงภัยพิบัติจังหวัดพังงา
1.ตำบลพรุใน2.ตำบลตำตัว 3.ตำบลทุ่งมะพร้าว 4.ตำบลโคกกลอย 5.ตำบลคลองเคียน 6.ตำบลนบปริง 7.ตำบลรมณีย์ 8.ตำบลบ่อแสน 9.ตำบลบางเหรียง 10.ตำบลบางเตย 11.ตำบลนาเตย 12.ตำบลเกาะยาวใหญ่ 13.ตำบลถ้ำ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เวลาในการทำโครงการมากกว่านี้

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่