ประเมินผลภายใน การจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม

Public Scoping พค,ตค5 ธันวาคม 2564
5
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย ปรียา แก้วพิมล
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การทำมี 2 ระยะ ได้แก่ 1. ระยะกำหนดขอบเขตคู่มือ ซึ่งทางทีมผู้ประเมินภายในทำควบคู่กับทีมพัฒนาคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่น ผ่านกิจกรรมการวิพากษ์ให้ข้อคิดเห็นคู่มือฯ และ 2 . การกำหนดขอบเขตการประเมินเพื่่อถอดบทเรียนรู้การนำคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในหน่วยงานบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นลงสู่การปฏิบัติ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. ระยะกำหนดขอบเขตคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่น ได้ข้อคิดเห็นการกำหนดขอบเขตคู่มือและปรับแก้คู่มือด้านการออกแบบคู่มือ รายละเอียดเนื้อหาร้อมใช้จำนวน 1 คู่มือ
2. ถอดบทเรียนการนำคู่มือแนวปฏิบัติพื้นที่นำร่อง 2 พื้นที่ในบริบทโรงพยาบาลเทพา และโรงพยาบาลสตูล ที่มีการขยายงานสู่ชุมชนระดับตำบล ผลลัพธ์ 1.เกิดคู่มือพร้อมใช้งานสำหรับพี่เลี้ยงและประชาชน แนวปฏิบัติสำหรับผู้ให้บริการทางสุขภาพ และแนวปฏิบัติสำหรับอปท./ผู้นำศาสนา
2.มีกรอบการประเมินการถอดบทเรียนตามรอบการทำงานของสสส.ได้แก่ ประเด็นความรู้หรือนวตกรรมชุมชน  คุณค่าการเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ  การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ กระบวนการชุมชน ผลกระทบเชิงบวกด้านนโยบายสาธารณทีเอื้ออำนวยต่อการสร้างสุขภาวะ คุณค่าในมิติสุขภาวะทางปัญญาจิตวิญญาณ ต่อผู้ปฏิบัติงานและชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่