เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ (จริยธรรมสื่อ)

ประชุม Work Shop Matching Network ครั้งที่ 1 (ความมั่นคงทางอาหาร , ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม , ความมั่นคงทางมนุษย์) (ขยายเครือข่ายเพิ่ม)21 สิงหาคม 2563
21
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงแผนการดำเนินงานของเครือข่ายสื่อฯ และแนะนำเครือข่าย ความคาดหวังจากผู้เข้าร่วม
  2. เสวนานำเข้าข้อมูลหัวข้อ “ความมั่นคงทางสุขภาวะทั้ง 4 ด้าน อาหาร สิ่งแวดล้อม มนุษย์ สุขภาพ ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะและจะใช้พลังสื่อเพื่อการขับเคลื่อนได้อย่างไร”
    ผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย

- กขป.เขต 11 - ผู้ประสานประเด็นความมั่นคงสิ่งแวดล้อม - สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จ.นครศรีธรรมราช - ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร 3. กระบวนการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
- รู้เท่าทันสื่อออนไลน์ จริยธรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- การเขียนข่าวอย่างง่าย
- การใช้ช่องทาง CANVA
- การใช้ช่องทางการประชุม ออนไลน์ ผ่านระบบ ZOOM
4. ฝึกปฏิบัติ ให้โจทย์เพื่อการฝึกเขียน เล่าเรื่องกับประเด็นของตนเองและสรุปเนื้อหา 5. ทบทวนเนื้อหาและฝึกปฏิบัติการ(ต่อ) 6. นำเสนอผ่านระบบ C-Site Report
7. นำเสนอผลงาน งานบุคคล 8. ฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม เขียนข่าวโดยใช้ CANVA - นำเสนองานกลุ่ม
- นำผลงานลงช่องทางการสื่อสาร - เฟสสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช - C-Site 9. สรุปการดำเนินกิจกรรม พร้อมมอบเกียรติบัตร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจในการขับเคลื่อนความมั่นคงทางสุขภาพทั้ง 4 ด้าน ที่ประกอบด้วย อาหาร สิ่งแวดล้อม มนุษย์ สุขภาพ ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะ และมีความเข้าใจที่จะใช้พลังสื่อเพื่อการขับเคลื่อน
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ด้านการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้วยกระบวนการสื่อสาร การใช้กระบวนการทุกกระบวนการต้องใช้ภาคีร่วม
  3. เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการสื่อสาร รูปแบบของการสื่อสาร การรู้เท่าทันสื่อในปัจจุบัน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย5W1H ตลอดจนวิธีปฏิบัติให้เกิดการสื่อสารที่ถูกต้อง
  4. เกิดความรู้ความเข้าใจจากการปฏิบัติและทดลองทำจริง ประกอบด้วย

- การเชียนข่าวอย่างง่าย - การใช้ช่องทาง Canva - เทคนิคการถ่ายภาพโดยใช้ Kinemaster โปรแกรมการตัดต่อผ่าน Smartphone

ผลการตอบแบบประเมิน 1. รู้สึกอย่างไรกับกระบวนการ - เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการที่ได้ลงมือปฏิบัติจริง - กระบวนการอบรมแบบกลุ่มทำให้ผู้เข้าอบรมสามารถคิดงานภายใต้ความคิดที่หลากหลาย - นำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดและพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับตนเองและชุมชน - การอบรมมีกระบวนการที่เข้าใจง่ายทำให้ผู้เข้าร่วมเกิดความรู้สึกที่ดี - ประทับใจกับทีมวิทยากรที่พร้อมถ่ายทอดความรู้ให้โดยไม่ปิดบัง - เปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ เท่าทันการสื่อสารในยุคโซเชียล - ได้เพื่อน ได้งาน ได้พัฒนาตนเอง - ภูมิใจที่ได้เข้าร่วมอบรม - วิทยากรให้ความรู้ได้ตรงประเด็น 2. สิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์ - ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเข้าใจในเครื่องมือและวิธีการสร้างสื่อที่ดี - ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างผลงานได้ และนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
- ได้เรียนรู้การเขียนข่าวอย่างไรให้มีความน่าสนใจได้ใจความกระชับ - เข้าใจเรื่องจริยธรรมในการสื่อสารว่าควรนำเสนอข่าวสารอย่างไร - ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์กับตัวเองและชุมชน
- การนำเครื่องมือ Canva มาใช้ทำให้เกิดการเรียนรู้ด้านเทคนิค ฝึกทักษะการใช้โปรแกรม - ได้เรียนรู้วิธีการใช้กล้องจากมือถืออย่างถูกต้อง การตัดต่อภาพ การไลฟ์สดอย่างไรให้มีผู้ชมหรือผู้ติดตามมากขึ้น - สามารถนำไปใช้พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสทางด้านการขายหรือบริการ - การใช้ตาราง 12 ช่องช่วยให้มีการจัดการข้อมูลได้ง่าย - สามารถนำสิ่งที่ได้จากการอบรมไปใช้เป็นช่องทางและเป็นเครื่องมือถ่ายทอดสิ่งดีๆที่มีในชุมชนให้ภายนอกได้รับรู้ได้ 3. ข้อเสนอแนะ - ระยะเวลาอบรมน้อยไป อยากให้เพิ่มเวลาเรียนรู้ให้มากกว่านี้ บางคนยังตามไม่ทัน เช่น 2 คืน 3 วัน หรือ 4 คืน  5 วัน เพื่อความชำนาญในการใช้เครื่องมือ - ให้มีการจัดอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มศักยภาพ - อยากให้ลงรายละเอียดของโปรแกรมมากกว่าเดิม - เพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีให้มากกว่าเดิม - ควรมีเอกสารประกอบในทุกเรื่องที่อบรม - วิทยากรผู้ช่วยน้อยไป ควรเพิ่มให้มากกว่านี้ - ควรเพิ่มรุ่นในการอบรม เพื่อเปิดโอกาสให้คนอื่นๆ หรือกลุ่มอื่นได้เข้าถึงด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่