แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง 15 ส.ค. 2563 20 ต.ค. 2563

 

  1. หลักการแนวคิด โครงการ ศวนส. และแผนงานการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา
  2. บรรยายให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา
  3. สรุปสะท้อนการเรียนรู้และสิ่งที่ตั้งใจนำกลับไปปรับใช้กับแปลงตัวเอง
  4. เติมเต็มและให้ข้อเสนอแนะ

 

  1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
  2. แผนงานการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

 

ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง 20 ส.ค. 2563 20 ส.ค. 2563

 

ประสานผู้เข้าร่วม -แลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

  1. แนวทางการดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน  โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก    เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้
    คณะทำงานฯ ได้วางกรอบความเชื่อมโยงของการดำเนินงานโดยให้ เกิดการบูรณาการความร่วมมือโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่ความมั่นคงอาหารของพื้นที่และจังหวัด จากงานเชิงประเด็นได้แก่พืชร่วมยาง สู่งานเชิงพื้นที่ตำบลบูรณาการอาหารผ่านกลไกกองทุนสุขภาพท้องถิ่น (กปท./พชต.) สู่ประเด็นยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สู่ประเด็นด้านเกษตรและอาหารของกลไกสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง

  2. กรอบการดำเนินงานพืชร่วมยาง  กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้ พืชร่วมยาง  ตามงบประมาณ 200,000 บาท  กิจกรรมตามแผนงาน ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 1)ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด 2)คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล 3)ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน 4)เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ 5)ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค) 1)เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90 2)ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90 3)เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
    4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

  3. แนวทางและกระบวนการดำเนินงานในระดับพื้นที่จังหวัดระนอง  การดำเนินงานพัฒนาระบบอาหารหรือระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการควบคู่ไปกับกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ตั้งแต่ สิงหาคม 63 ถึง พฤษภาคม 64

 

ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง 28 ก.ย. 2563 28 ก.ย. 2563

 

ประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

  1. สรุปการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสถาบันการเกษตรกรสวนยางระดับจังหวัด  การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดระนอง ครั้งที่ 6/2563 ดังนี้
      1) รายงานผลการดำเนินงาน กยท.ระนอง ได้แก่  การประกันภัยอุบัติเหตุเกษตรกรชาวสวนยางโครงการประกันรายได้  โครงการพัฒนาอาชีพ การปลูกแทน ยางพารา ไร่ละ 16,000 บาท และตามหลักเกณฑ์การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกแทน ได้ปรับแบบและวิธีการปลูกแทน ไว้ 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบที่ 1 ปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี  แบบที่ 2 ปลูกแทนด้วยต้นไม้ยืนต้นชนิดอื่นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ  แบบที่ 3 ปลูกแทนแบบเกษตรกรรมยั่งยืน โดยแบ่งเป็นพืชหลักเป็นปลูกยางพันธุดีเป็นพืชหลัก และปลูกไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชหลัก
      2)รายงานผล/การติดตามการดำเนินงานพัฒนาสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง ตามมาตรา 49(6) ให้รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนปี 63 ได้แก่ การใช้เงินตามหลักเกณฑ์ การรับเงินอุดหนุนปี 63 และการเสนอโครงการขอใช้เงิน ปี 64
  2. แนวทางการดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน  โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก    เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้
    คณะทำงานฯ ได้วางกรอบความเชื่อมโยงของการดำเนินงานโดยให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่ความมั่นคงอาหารของพื้นที่และจังหวัด จากงานเชิงประเด็นได้แก่พืชร่วมยาง สู่งานเชิงพื้นที่ตำบลบูรณาการอาหารผ่านกลไกกองทุนสุขภาพท้องถิ่น (กปท./พชต.) สู่ประเด็นยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สู่ประเด็นด้านเกษตรและอาหารของกลไกสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง

  3. กรอบการดำเนินงานพืชร่วมยาง  กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้ พืชร่วมยาง  ตามงบประมาณ 200,000 บาท
    กิจกรรมตามแผนงาน ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 1)ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด 2)คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล 3)ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน 4)เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ 5)ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค) 1)เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90 2)ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90 3)เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
    4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

  4. แนวทางและกระบวนการดำเนินงานในระดับพื้นที่จังหวัดระนอง  การดำเนินงานพัฒนาระบบอาหารหรือระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการควบคู่ไปกับกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ตั้งแต่ สิงหาคม 63 ถึง พฤษภาคม 64 ตามแผนผังนี้(เอกสารประกอบ) 4.1)กลไกการดำเนินงานในรูปแบบ คณะทำงานร่วมมือกัน 3 กิจกรรม  โดยมีองค์ประกอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภาเกษตรกร (นายภัทรพงวิช สุวรรณสอง) กยท.ระนอง (นายเรืองวิทย์ ทัศการ-นายสว่าง แก้วเจริญ) , กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ฯ, สนง.เกษตร,สนง.ปศุสัตว์จังหวัด,สนง.ประมงจังหวัด,สนง.สาธารณสุข เป็นต้น (รายชื่อตามเอกสารประกอบ) 4.2) ผู้รับผิดชอบตามภารกิจงานพืชร่วมยาง ได้แก่ (นายภัทรพงวิช สุวรรณสอง) กยท.ระนอง (นายเรืองวิทย์ ทัศการ-นายสว่าง แก้วเจริญ) และ สภาเครือข่ายสถาบันเกษตรสวนยางจังหวัดระนอง 4.3) กลุ่มเป้าหมายเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนโครงการระบบน้ำโซล่าเซล -เกษตรกรที่เป็นต้นแบบ อาทิ ..................................... เป็นต้น

  5. นัดหมายภารกิจ/กิจกรรมต่อไป
    • ให้ผู้แทนสถาบันเกษตร พิจารณา คัดเลือกเกษตรนำร่อง 10 ราย  และเกษตรต้นแบบ 2-4 ราย เพื่อเป็นกรณีศึกษา พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อไป

 

ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง 14 พ.ย. 2563 14 พ.ย. 2563

 

ประสานผู้เข้าร่วม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประสานความร่วมมือ

 

  1. การคัดเลือกแปลงเกษตรกรตัวอย่าง
    • นายอุดม คำแป้น มีสวนยางจำนวน 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 2-3มีการปลูกยางแบบสวนผลมผสาน โดยมี การปลูก ปาล์ม โกโก้ ทุเรียน กาแฟ ไม้เศรษฐกิจ มะพร้าว กล้วย และมีการเลี้ยงปลา หมูหลุม เพื่อผลิตปุ๋ยใช้เอง
    • นายพงษ์ศร สีสิน มีที่ดินจำนวน 200 ไร่ 7 แปลงซึ่งไม่มีเอกสารสิทธิจึงไม่สามารถขอเงินสงเคราะห์การทำสวนยางได้ แต่มีการทำไร่ผสมผสานในสวนยางมีการปลูก ทุเรียน หมาก สะตอ กาแฟ ตะเคียน
    • นายอภิชัย นาคฤทธิ์ มีสวนยางจำนวน 50 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสานแต่เป็นการปลูกไม้เศรษฐกิจ เช่น ตะเคียน จำปา ยางนา พะยอม และผักเหลียง มะเดื่อ
    • นายสุลาวัตร เตาตระกูล มีสวนยาง 30 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสาน คือ ทุเรียน กาแฟ สะตอ หมาก กล้วยหอมและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่
    • นายสินมหัด ด่อนศรี มีสวนยาง 6 ไร่ ปาล์ม 30 ไร่ โดยมีการปลูกจำปาทองและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ และมีการใช้พื้นที่แยกจากสวนปาล์ม ยาง เป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์โดยมีการเลี้ยงวัว 40 ตัว หมู 80 ตัวโดยมีการขายเนื้อหมูเดือนละ 180 ตัวและใช้ขี้หมูในการเป็นปุ๋ยให้แก่หญ้าเนียเปีย
    • นายพูนธวัช เหล่าประวัติชัย มีพื้นที่ 15 ไร่ โดยมีการปลูกผักเหลียง กล้วย ไม้ดอก เพื่อให้มีการปลูกที่หลากหลายและจะทำให้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของจังหวัดระนอง
    • .นางสุจินต์ ศรีเกตุ  หมู่11ต.ลำเลียง อ.กระบุรี
    • นายสมศักดิ์ ไชยนาศักดิ์  หมู่2 ต.ละอุ่นใต้ อ.ละอุ่น
    • นายบาหรี  หมาดหมัน  หมู่8ต.นาคา อ.สุขสำราญ
    • นายวินัย ทองพร้อม  หมู่7 ต .นาคา อ.สุขสำราญ
  2. การดำเนินการศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน รูปแบบโครงสร้างการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน (พูนธวัช เล่าประวัติชัย ) กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง สกย.ฝายคลองน้ำจืด จ.ระนอง โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้ 1)จัดอบรมเชิงปฎิบัติการบำรุงรักษาและใช้ประโยชน์ระบบสูบน้ำโซล่าเซล 2)ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนพัฒนาศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน ทั้งสถาบันวิชาการ  กยท. หน่วยงานอื่นๆ

 

ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด 22 พ.ย. 2563 5 พ.ย. 2564

 

รวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่ทำสวนยางผสมผสานและร่วมคัดกรองกับ กยท.ระนองเพื่อลงพื้นที่ถอดบทเรียนสวนยางยั่งยืนต้นแบบ 10 ราย

 

เกิดชุดข้อมุลการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบจำนวน 10 พื้นที่ ซึ่งแต่ละพื้นที่มีรูปแบบการจัดการที่แตกต่างกันและเป้นพื้นที่แปลงขนาดใหญ่

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทบทวนวิเคราะห์ รูปแบบ/วิธีการปรับใช้การทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง ที่เหมาะสมและสรุปร่างข้อเสนอ 15 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง 10 ก.พ. 2564 10 ก.พ. 2565

 

ประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล

 

การขับเคลื่อนการดำเนินงานพืชร่วมยางจังหวัดระนองโดยในภาพรวมของการขับเคลื่อนจะมองตามทิศทางของชาวสวนยางภาคใต้ ดังนี้ 1. การดำเนินงานสวนยางยั่งยืน ภายใต้ทิศทางของเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางภาคใต้
2. รายงานผล/การติดตาม โครงการประกันรายได้  โครงการพัฒนาอาชีพ โครงสวนยางแปลงใหญ่ การปลูกแทน ยางพารา ไร่ละ 16,000 บาท และตามหลักเกณฑ์การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกแทน ได้ปรับแบบและวิธีการปลูกแทน ไว้ 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบที่ 1 ปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี  แบบที่ 2 ปลูกแทนด้วยต้นไม้ยืนต้นชนิดอื่นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ  แบบที่ 3 ปลูกแทนแบบเกษตรกรรมยั่งยืน โดยแบ่งเป็นพืชหลักเป็นปลูกยางพันธุดีเป็นพืชหลัก และปลูกไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชหลัก
3. การดำเนินงานของสถาบันเกษตรกรปี 63 ให้รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนปี 63 ได้แก่ การใช้เงินตามหลักเกณฑ์ การรับเงินอุดหนุนปี 63 และการเสนอโครงการขอใช้เงิน ปี 64  รวมทั้งการประกันอุบัติเหตุกลุ่มเกษตรสาวนยาง,สวนประสบภัย

    การดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน  โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคง ทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก  เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร

    การดำเนินงานพืชร่วมยาง  กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้ พืชร่วมยาง  ตามงบประมาณ 200,000 บาท
กิจกรรมตามแผนงาน

  • ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด
  • คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล
  • ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน
  • เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ
  • ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
  • ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90
  • เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
  • จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

  ซึ่งตามแผนการขับเคลื่อนงานพืชร่วมยางของจังหวัดระนองได้มีการปรับเปลี่ยนคนรับผิดชอบเพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางที่สอดคล้องกับ กยท.จังหวัดระนองซึ่งเป็นการยอมรับของทุกฝ่ายและทาง ผอ.กยท.จังหวัดระนองและทีมเห็นชอบให้ ผู้ช่วย กยท.นายเรืองวิทย์ และ นายสว่าง เป็นผู้รับผิดชอบและมีการทบทวนเกษตรกร 10 ราย ดังนี้   1. นายอุดม คำแป้น มีสวนยางจำนวน 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 2-3มีการปลูกยางแบบสวนผลมผสาน โดยมี การปลูก ปาล์ม โกโก้ ทุเรียน กาแฟ ไม้เศรษฐกิจ มะพร้าว กล้วย และมีการเลี้ยงปลา หมูหลุม เพื่อผลิตปุ๋ยใช้เอง 2.นายพงษ์ศร สีสิน มีที่ดินจำนวน 200 ไร่ 7 แปลงซึ่งไม่มีเอกสารสิทธิจึงไม่สามารถขอเงินสงเคราะห์การทำสวนยางได้ แต่มีการทำไร่ผสมผสานในสวนยางมีการปลูก ทุเรียน หมาก สะตอ กาแฟ ตะเคียน
3.นายอภิชัย นาคฤทธิ์ มีสวนยางจำนวน 50 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสานแต่เป็นการปลูกไม้เศรษฐกิจ เช่น ตะเคียน จำปา ยางนา พะยอม และผักเหลียง มะเดื่อ 4.นายสุลาวัตร เตาตระกูล มีสวนยาง 30 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสาน คือ ทุเรียน กาแฟ สะตอ หมาก กล้วยหอมและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ 5.นายสินมหัด ด่อนศรี มีสวนยาง 6 ไร่ ปาล์ม 30 ไร่ โดยมีการปลูกจำปาทองและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ และมีการใช้พื้นที่แยกจากสวนปาล์ม ยาง เป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์โดยมีการเลี้ยงวัว 40 ตัว หมู 80 ตัวโดยมีการขายเนื้อหมูเดือนละ 180 ตัวและใช้ขี้หมูในการเป็นปุ๋ยให้แก่หญ้าเนียเปีย 6.นายพูนธวัช เหล่าประวัติชัย มีพื้นที่ 15 ไร่ โดยมีการปลูกผักเหลียง กล้วย ไม้ดอก เพื่อให้มีการปลูกที่หลากหลายและจะทำให้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของจังหวัดระนอง
7.นางสุจินต์ ศรีเกตุ  หมู่11ต.ลำเลียง อ.กระบุรี
8.นายสมศักดิ์ ไชยนาศักดิ์  หมู่2 ต.ละอุ่นใต้ อ.ละอุ่น
9.นายบาหรี  หมาดหมัน  หมู่8ต.นาคา อ.สุขสำราญ
10.นายวินัย ทองพร้อม  หมู่7 ต .นาคา อ.สุขสำราญ

โดยหลังจากการประชุมทาง กยท.ระนองจะมีการบูรณาการแผนพืชร่วมยางกับแผนงานของ กยท.เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายและจะมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเกษตรกรต้นแบบในพื้นที่เป็นลำดับต่อไป

 

ประชุมประสานเครือข่ายจังหวัดระนอง 10 ก.พ. 2564

 

 

 

 

 

เครือข่ายร่วมกับ กยท. จัดทำพัฒนาข้อเสนอ แนวทางการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง และสร้างความร่วมมือขับเคลื่อนและผลักดันทางนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 12 มี.ค. 2564

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 10 รายร่วมกับ กยท. 30 มี.ค. 2564 30 มี.ค. 2564

 

ประสานทีม กยท.ระนอง ออกแบบกระบวนการ นัดวันอบรมและเชิญวิทยากรโดยใช้สวนพูนธวัชเป็นที่อบรม

 

กลุ่มเกษตรกรบ้านน้ำจืดมีบ่อบาดาลที่ใช้ประโยชน์ได้จริงน้อยซึ่งทางแกนนำได้ประสานขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อทำให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งน้ำแต่ยังมีความเป็นไปได้น้อยเพราะหน่วยงานต่างๆยังไม่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลเรื่องการจัดการน้ำให้กับเกษตรกร   การยางแห่งประเทศไทยมีการสนับสนุนให้เกษตรกรทำสวนยางยั่งยืนจากการขอสงเคราะห์ตามมาตรา 49(2) ในรูปแบบ 3 คือการปลูกแบบผสมผสานคือการปลูกแบบ 40 ต้นและให้มีการผสมผสานด้วยการปลูกไม้ผล เลี้ยงปลา ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้ต่อจากการสงเคราะห์ไร่ละ 16,000 บาทตามระเบียบ ทาง กยท.แห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าการปลูกแบบผสมผสานซึ่งต้องมีส่วนประกอบของน้ำ ดังนั้นจึงได้มีการสนับสนุนโซล่าเซลล์ให้กับแปลงต้นแบบจำนวน 9 รายในจังหวัดระนองตามมาตรา 49(3) คือการปลูกแบบธรรมชาติ นอกจากนี้การยางยังมีการทำประกันให้แก่เกษตรกรที่เสียชีวิตตามระเบียบของการยางเพื่อให้เกษตรกรได้มีการเยียวยา แต่ทาง กยท.แห่งประเทศไทยไม่ได้มีการให้ความรู้ในการดูแลรักษาระบบโซล่าร์เซลล์ทำให้ผู้ที่ได้รับขาดความรู้ในการดูแลรักษาซึ่งเป็นเรื่องใหม่สำหรับชาวเกษตรกรสวนยาง จึงได้นำเรื่องนี้มาพูดคุยและได้รับการสนับสนุนจากสมาคมประชาสังคมชุมพรซึ่งได้รับงบประมาณการขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืนจากสำนักนโยบายสาธารณะ(มอ.หาดใหญ่)ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้   ในปี 53 ทาง กยท.ได้อุดหนุนงบประมาณจำนวน 9 แสนบาทแก่เกษตรกร 9 ราย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการทำเกษตร ซึ่งทาง กยท.มีสิทธิประโยชน์หลากหลายที่ให้แก่เกษตรกรที่มีบัตรเขียวจะได้รับสิทธิประโยชน์จาก กยท.ทั้งในเรื่องของการสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยาง ส่วนเกษตรกรที่ยังมีบัตรสีชมพูต้องคอยการจัดสรร
  การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าด้วยระบบโซล่าเซลล์ โซล่าเซลล์ คือ ระบบโฟตอนที่ใช้การผลักพลังงานซึ่งเป็นกฎของธรรมชาติในการสร้างกระแสไฟซึ่งจากการทำงานต้องมีการแปลงกระแสไฟซึ่งในบ้านที่เราใช้อยู่เป็นกระแสสลับเพราะจะทำให้การส่งไฟได้เร็ว ซึ่งการทำให้เกิดพลังงานจะต้องมีกระแสความดัน ตามทฤษฎี 1 แรงม้าเท่ากับ 750 วัตต์ การดูแลรักษาแผลโซล่าเซลล์จะต้องทำความสะอาดด้วยน้ำเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของการใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ การติดตั้งแผงควรติดตั้งตามเส้นศูนย์สูตรของโลกเพื่อให้เกิดการรับแสงที่ดีจากดวงอาทิตย์ ลักษณะคลื่นจะมี 3 ชนิด คลื่นบริสุทธิ์ คลื่นตกแต่ง คลื่นสี่เหลี่ยม

ระบบโซล่าเซลล์มี 4 ระบบ คือ
1.ระบบ ON-Grid คือ ระบบที่ใช้ร่วมกับสายส่งของการไฟฟ้าและเป็นระบบผสมไฟฟ้า 2.ระบบ Hybrid system คือ ระบบที่ใช้แบบผสมทั้งไฟฟ้าและพลังงานโซล่าเซลล์ 3.ระบบHybrid On – Off Grid คือ ระบบผสมที่ใช้กับไฟฟ้าหรือไม่ใช้ก็ได้ 4.ระบบ Off-Grid คือ ไม่ใช้ไฟจากการไฟฟ้าแต่ใช้ไฟจากโซล่าเซลล์
  ความรู้ไฟฟ้าพื้นฐานที่ต้องมี

  ประสบการณ์จากการใช้โซล่าเซลล์ที่ทาง กยท.สนับสนุน - ขาดความเข้าใจเรื่องระบบและการดูแลรักษาแผง - กยท.จัดจ้างช่างมาติดตั้งแต่ไม่บอกการดูแลรักษา - การใช้ประโยชน์จากโซล่าร์เซลล์ สรุปแนวทางการขับเคลื่อน ในภาวะที่เป็นช่วงหน้าแล้งเกษตรกรจะขาดน้ำที่จะใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและครัวเรือน ซึ่งมีการจัดเก็บน้ำแต่ไม่เพียงพอกับการทำเกษตร ดังนั้นกลุ่มชาวสวนยางจึงอยากให้ทาง กยท.สนับสนุนเรื่องการใช้พลังงานโซล่าร์เซลล์ในการจัดการน้ำ