พืชร่วมยาง นครศรีธรรมราช

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อสร้างแปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน วนเกษตร พืชร่วมยาง เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช16 กุมภาพันธ์ 2564
16
กุมภาพันธ์ 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Aitsara
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงาน “การเข้าร่วมของเกษตรกรในการสร้างแปลงต้นแบบการ ทำเกษตรผสมผสาน วนเกษตร พืชร่วมยาง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช”
  2. บรรยายให้ความรู้เรื่องการทำวนเกษตรยางพารา การส่งเสริมการสร้างแปลงต้นแบบพืชร่วมยางในจังหวัดสงขลา และแลกเปลี่ยนการทำวนเกษตรร่วมกัน
  3. ลงพื้นที่ร่วมเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา และวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เจ้าหน้าที่ กยท.นาบอน ร่อนพิบูลย์ และฉวาง ร่วมคัดเลือกพื้นที่/กลุ่มเป้าหมายในการทำพืชร่วมยาง (แบบ 2, 3) ได้เกษตรเป้าหมาย 10 ราย/ 10 แปลง แบบ 3 ได้แก่   1.1) นายปรีชา คงสง (ต.แก้วแสน อ.นาบอน)
      1.2) นายสุมิตร ศรีวิสุทธิ์ (ต.คลองเส อ.ถ้ำพรรณรา)   1.3) นายลิขิต บุตรมิตร (ต.กุแหระ อ.ทุ่งใหญ่)   1.4) นายยงยุทธ์ สุขสวัสดิ์ (ต.ครึง อ.ชะอวด)   1.5) นายอมรศักดิ์ หนูสาย (ต.วังอ่าง อ.ชะอวด)   1.6) นายบุญนพ นาคปาน (นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.7) นายสุพจน์ นาคปาน (ต.นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.8) นางสมคิด สารสุวรรณ (ต.นาหมอบุญ อ.จุฬาภรณ์)   1.9) นางศิราณี น้อยสำลี (ต.ละอาย อ.ฉวาง)   1.10) นายอุดม ปรีชา (ต.ยางค้อม อ.พิปูน)   1.11) นายสาธร ส้องเจริญ (ต.หลักช้าง อ.ช้างกลาง)
  2. เกษตรกร 10 ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพ โดยนักวิชาการจาก คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับกยท.นครศรีธรรมราช และ กยท.สาขา (นาบอน ร่อนพิบูลย์ ฉวาง)
  3. เกษตรกรต้นแบบ (แบบ 3) ถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรผสมผสานให้แก่เกษตรกร 9 ราย
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่