อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”

อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
หน่วยงานหลัก คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน กลุ่มเกษตรกรปักผ้าและหัตถกรรมท้องถิ่น อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์อธิปัตย์ ฤทธิรณ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1329900104507 อาจารย์รัตนเรขา มีพร้อม คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 085-3549263
3320900005256 นางมนัสชนก วรธงไชย คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 094-5259958
1329900151190 นางสาวกุลวดี เรืองเกษม คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 094-4685952
1329900907740 นายธีรภัทร อิ่มบุตร พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 063-347-3575
1350100521067 นายเมธีสิทธิ์ สอดศรี พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 093-1654054
1320700298296 นายยุทธนา จันทร์สุวรรณ พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 095-6016804
1749800231848 นายธนาวุฒิ มณีทับ พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 064-4257404
1749900582944 นายปรีดา มาศรักษา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951
1329900795984 นายศุภอรรถ นันท์ธราธร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951
1329900741248 นายพงษ์ศักดิ์ ยอดเสาดี เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951
การติดต่อ 091-016-7951
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 17 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สมเด็จ สมเด็จ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
พื้นที่เป้าหมายเกี่ยวกับเกษตรกรปักผ้า ทำดอกไม้ ด้วยหัตถกรรม อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์และมีสิ่งทอท้องถิ่น
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ขาดการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านสิ่งทอและประชาสัมพันธ์การตลาดออนไลน์
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประสบปัญหาด้านทักษะที่จะพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอขาดการวางแผนในการประชาสัมพันธ์และขาดความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และการตลาดออนไลน์

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. การพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นเพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
3. การออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน
4. การประชาสัมพันธ์การตลาดในระบบออนไลน์

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ น่ามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งโครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (๓) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้จึงต้องการพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นให้กับเกษตรกรปักผ้า ทำดอกไม้ ด้วยหัตถกรรม อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์และมีสิ่งทอท้องถิ่นซึ่งเป็นต้นทุนของชุมชน ใช้ความรู้ทางวิชาการด้านออกแบบสิ่งทอ แปรรูปผลิตภัณฑ์ การวางแผนในการประชาสัมพันธ์และด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาดออนไลน์ รวมทั้งเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงานตรงตามสาขาวิชา และองค์ความรู้ที่เรียนโดยมีชุมชนเป็นฐานการนำความรู้สู่การปฏิบัติ ผ่านโครงงานที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของชุมชน มุ่งเน้นผลลัพธ์ในการแก้ปัญหาด้านความยากจน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้สามารถสร้างฐานรายได้และขยายโอกาสทางการค้า ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ำของคนในประเทศได้

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การตลาดในระบบออนไลน์
  • การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่น
  • สิ่งทอ

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ find_in_page

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย jakkarin jakkarin เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2562 15:27 น.