โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมายจังหวัดนครราชสีมา

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมายจังหวัดนครราชสีมา

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมายจังหวัดนครราชสีมา
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
หน่วยงานหลัก สถาบันวิจัยและพัฒนา
หน่วยงานร่วม คณะบริหารธุรกิจ
ชื่อชุมชน บ้านศาลา
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ บุญหมื่นไวย
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ บุญหมื่นไวย
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พลานุช คงคา
4. ดร.เพลงพิณ เพียรภูมิพงศ์
5. ดร.ศศิพันธ์ วงศ์สุทธาวาส
การติดต่อ 081-547-6552
ปี พ.ศ. 2558
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559
งบประมาณ 200,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
บ้านศาลา ตั้งอยู่ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น พบว่า มีจำนวนครัวเรือน ๒๒๐ ครัวเรือน มีประชากร ๘๑๔ คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่สำหรับการประกอบอาชีพทั้งหมด ๖,๑๑๖ ไร่ ภูมิประเทศเหมาะสำหรับการเพาะปลูกข้าว เนื่องจากมีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ (แม่น้ำมูล ระบบชลทาน หนองน้ำ) แต่การทำนาของเกษตรกรมีต้นทุนสูง เนื่องจากต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าว และนิยมใช้สารเคมี ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรมีปัญหาสุขภาพ รายได้ลดลง สภาพดินเสื่อม
จากที่มาและปัญหาข้างต้น คณะผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการโครงการ “การมีส่วนร่วมในการจัดการเพื่อพัฒนาชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตร สร้างรายได้ และตอบสนองต่อภารกิจของมหาวิทยาลัยฯ โดยเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง
จากการเข้าศึกษาบริบทชุมชน หมู่บ้านศาลาด้วยการสุ่มสอบถามด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ประชากรจำนวน ๑๒๒ ครัวเรือน และจากการดำเนินการมาเป็นปีที่ ๒ ได้มีการดำเนินโครงการเพิ่มผลผลิตการปลูกข้าว การลดการใช้สารเคมี และการทำงานร่วมกันทุกภาคส่วน ทั้งกรมการข้าว กรมพัฒนาที่ดิน ศูนย์วิจัยเมล็ดพันธุ์ข้าว และเกษตรอำเภอพิมาย และบริษัทผู้ผลิตคูโบต้า จำกัด ทำให้เกิดการร่วมมือกันทุกภาคส่วน มีแปลงนาสาธิตที่ให้ผลผลิตข้าวได้ในปริมาณเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งมีการนำข้าวเปลือกที่ได้มาทำการบรรจุเป็นเมล็ดพันธุ์ข้าว จำหน่ายในท้องถิ่น
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จากแผนการพัฒนาชุมชนบ้านศาลามีความเหมาะสมและสอดคล้องกับโครงการ เนื่องจากชุมชนมีความพร้อมที่จะร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผลและร่วมรับประโยชน์ รวมทั้งบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มีองค์ความรู้หลากหลาย เพื่อเป็นการบูรณาการร่วมกันของแต่ละศาสตร์ ดังนั้นได้จัดทำโครงการย่อยที่ ๑ – ๖ : เขียนการพัฒนาเมล็ดพันธ์ข้าวสู่สากล และต่อยอดเชิงพาณิชย์ โดยมีชุมชนบ้านศาลามีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้ชื่อโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วน โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาเมล็ดพันธ์ข้าวสู่สากล และต่อยอดเชิงพาณิชย์ พัฒนาศักยภาพของประชาชนให้มีความพร้อมในด้านการดำรงชีวิตและมีอาชีพที่มั่นคงและพร้อมที่จะขับเคลื่อนชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตบนรากฐานสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมย่อยที่ ๑ : โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตลาด เชิงการค้าและเชิงพาณิชย์ ในการจำหน่ายผลิตพันธุ์ข้าว
กิจกรรมย่อยที ๒ : โครงการศึกษาดูงานและอบรมเชิงการรับรองเมล็ดพันธุ์ข้าวสู่สากล
กิจกรรมย่อยที่ ๓ : โครงการอบรมเชิงการรับรองเมล็ดพันธุ์ข้าวสู่สากล
กิจกรรมย่อยที่ ๔ : การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ เมล็ดพันธุ์ข้าว และข้าวสาร บ้านศาลา
กิจกรรมย่อยที่ ๕ : โครงการติดตามและประเมินผล เพื่อให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์
กิจกรรมย่อยที่ ๖ : โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อใช้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่บ้านศาลาเพื่อเป็นสินค้าที่ระลึกในช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๘

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • หมู่บ้านศาลา หมูุ่บ้านราชมงคลอีสาน เศรษฐกิจพอเพียง

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย anndusadee anndusadee เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 11:00 น.