โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนมันธยมศึกษา ในจังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนมันธยมศึกษา ในจังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการใช้ความรู้พื้นฐานทางบัญชี สร้างวิถีการออมและเสริมสร้างค่านิยมการใช้จ่ายเงินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนมันธยมศึกษา ในจังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายทยากร สุวรรณปักษ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ คณะบริหารศาสตร์ มหาิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ คณะบริหารศาสตร์ มหาิทยาลัยกาฬสินธุ์
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 กรกฎาคม 2561 -
งบประมาณ 25,400.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ยางตลาด place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

การจัดทำบัญชีในครัวเรือนจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะเยาวชนควรที่จะและเรียนรู้เพื่อปลูกฝังให้เห็นถึงรายจ่ายที่เกิดขึ้นในครอบครัวนอกจากนี้ยังสามารถให้เห็นค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นค่าใช้จ่ายที่ใช้ในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดไม่อยู่ที่ดีในครอบครัวซึ่งเป็นที่มาให้ครอบครัวสามารถที่จะลดรายได้ดังกล่าวได้มีผลทำให้ตระหนักถึงเรื่องการออมเงินการวางแผนใช้จ่ายเงินการทำบัญชีรับจ่ายการส่งเสริมวินัยการออมสร้างนิสัยประหยัดอดออมทั้งนี้เพื่อเป็นการใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังไม่ประมาทและมีการเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหาที่จะเข้ามาในการดำเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักยึดในการทวนการต้านทานและแก้ไขปัญหาในแนวทางดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมการจัดทำบัญชีควรเรือนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่ชุมชนทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนที่เข้าอบรมนำความรู้ไปใช้และปลูกฝังใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 23:34 น.