ยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชม “นวัตวิถีเอกลักษณ์ชุมชนกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมู่บ้านหาดทอง

ยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชม “นวัตวิถีเอกลักษณ์ชุมชนกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมู่บ้านหาดทอง

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชม “นวัตวิถีเอกลักษณ์ชุมชนกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมู่บ้านหาดทอง
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
หน่วยงานหลัก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยงานร่วม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะครุศาสตร์ และคณะวิทยาการจัดการ
ชื่อชุมชน เทศบาลตำบลลำคลอง หมู่บ้านหาดทอง
ชื่อผู้รับผิดชอบ อ.ดร.อภิชาติ เหล็กดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรปภา อารีราษฎร์ และ รศ.ดร.ประสบสุข ฤทธิเดช
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา ๑ ผศ.ดร.ธรัช อารีราษฎร์ สาขาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒ อาจารย์ ดร.อภิชาติ เหล็กดี สาขาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓ ผศ.ดร.อุทัย โคตรดก สัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
๔ ผศ.ดร.พูนศักดิ์ สิริโฉม สาขาสถิติวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๕ ผศ.ดร.สุทธินี อัตถากร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
๖ ผศ.กนกวรรณ ศรีวาปี สาขาปฐมวัย คณะครุศาสตร์
๗ อาจารย์ศุภนิธิ ขำพรพมราช สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์
๘ อาจารย์ธันยชนก ปะวะละ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ
การติดต่อ มือถือ ๐๘๕-๐๕๗๕๐๐๑ ที่ทำงาน : ๐๔๓-๐๒๐๒๒
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
๓.๑ ข้อมูลพื้นฐาน : เทศบาลตำบลลำคลอง ได้ยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อปี ๒๕๔๒ และยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบล เมือปี พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยเทศบาลตำบลลำคลอง ประกอบด้วยชุมชน ๗ บ้าน (แบ่งเป็น ๑๐ หมู่บ้าน) ได้แก่ บ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๑ บ้านหนองสองห้อง หมู่ที่ ๒ บ้านหาดทองหมู่ที่ ๓ บ้านโนนตูม หมู่ที่ ๔ บ้านปลาเค้าใหญ่ หมู่ที่ ๕ บ้านปลาเค้าน้อยหมู่ที่ ๖ บ้านอัมพวันหมู่ที่ ๗ บ้านมิตรสัมพันธ์ หมู่ที่ ๘ บ้านสะอาดใต้หมู่ที่ ๙ บ้านหนองม่วงหมู่ที่ ๑๐ ปัจจุบันตำบลลำคลองแบ่งเขตกหารเลือกตั้งออกเป็น ๒ เขต สมาชิกสภาเทศบาลตำบล จำนวน ๑๒ คน ดังนี้ เขตเลือกตั้งที่ ๑ ได้แก่ หมู่ที่ ๑ ชุมชนบ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๒ ชุมชนบ้านหนองสองห้อง หมู่ที่ ๙ ชุมชนบ้านสะอาดใต้ และเขตเลือกตั้งที่ ๒ ได้แก่ หมู่ที่ ๓ ชุมชนบ้านหาดทอง หมู่ที่ ๖ ชุมชนบ้านปลาเค้าน้อย หมู่ที่ ๗ ชุมชนบ้านอัมพวัน หมู่ที่ ๑๐ ชุมชนบ้านหนองม่วง
ประชากร มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น ๔,๒๗๓ คน แยกเป็นชาย ๒,๐๗๗ คน หญิง ๒,๑๙๖ คน จำนวนครัวเรือน ๑,๒๙๔ ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒)
๓.๒ ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มอุดมด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และมีคลองชลประทานไหลผ่านเหมาะแก่การทำการเกษตร อาทิ - ทำนา ทำไร่ ทำสวน และการประมง เพราะมีอาณาเขตติดต่อกับเขื่อนลำปาว
๓.๓ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่มีลักษณะแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Aw) คือ มีอากาศร้อนสลับกับฤดูแล้ง มีฝนตกปานกลาง
- ฤดูหนาว ช่วงเดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็นเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดที่มีอุณหภูมิต่ำสุด ได้แก่จังหวัดเลย
- ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม –กันยายน
- ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน ซึ่งเหมาะสำหรับการกระกอบอาชีพด้านการเกษตรที่มีทรัพยากรน้ำ ที่มีความอุดมสมบูรณ์
๓.๔ ลักษณะของดิน ในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย ดินเหนียว และมีธาตุอาหาร ใต้ดินมีน้ำใต้ดินทำให้เกิดชุมชื้น ซึ่งเหมาะในการเพาะปลูกพืช ทำไร่ ทำนา และการประมง
๓.๕ ลักษณะของแหล่งน้ำ เทศบาลตำบลลำคลอง มีแหล่งดังนี้ แหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่ ลำน้ำ, ลำห้วย ๔ สาย ที่สำคัญคือ ลำน้ำปาว ลำห้วยซัน ลำห้วยน้อย และลำห้วยใหญ่ และ บึง,หนองและอื่นๆ๗ แห่ง ที่สำคัญคือ หนองหัวลิง, หนองสิม,หนองแวง,หนองค่า,หนองม่วงกุดฟ้าน้อย กุดฟ้าใหญ่
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
๑. การศึกษา ในชุมชนมี โรงเรียนประถมศึกษา ๒ แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒ แห่ง ดังนี้
โรงเรียนประถมศึกษา ๒ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนสะอาดประชาสรรพ์ และ โรงเรียนบ้านหนองม่วง ทั้งสองโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีจำนวนนักเรียนที่มาจากทั้ง ๗ บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง รวมทั้งสิ้นมีเด็กในวัยเรียน ๑๙๗ คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๕๙ คน
๒. สาธารณสุข เทศบาลตำบลลำคลอง มีสถานีอนามัย ตั้งอยู่ที่บ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๑ มีจำนวน
บุคลากร ๔ คน อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
๓. อาชญากรรมและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเทศบาลตำบลลำคลอง ไม่มีสถานีตำรวจภายในตำบล ในการรักษาความปลอดภัยภายในตำบล ภายในหมู่บ้าน ทำให้ผู้นำชุมชนเป็นผู้ดูแลความปลอดภัยและรักษาความสงบ ถ้าเกิดเหตุจะประสานไปยังตำรวจภายใน สภ. ลำปาว
๔. ยาเสพติด ปัญหาด้านการค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ อยู่ในระดับปานกลางเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ยาเสพติดที่มีปัญหาการค้าและแพร่ระบาดมากที่สุด คือ ยาบ้า รองลงมาเป็นกัญชาแห้ง และสารระเหย ตามลำดับ ส่วนไอซ์ กัญชาสด และพืชกระท่อม สภาพปัญหาอยู่ในระดับไม่รุนแรง
๕. การสังคมสงเคราะห์ งานในด้านการบำบัดและพื้นฟูผู้ป่วยและผู้ติดยาเสพติด และการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ผ่านการบำบัดและพื้นฟู แก้ไขผู้กระทำผิดประกอบด้วยผู้กระทำผิดที่มาจากหลากหลายรูปแบบของสังคม เป็นเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ ชาย หญิง ผู้พิการ
๖. ด้านระบบบริการพื้นฐาน
๑) การคมนาคมขนส่ง เทศบาลตำบลลำคลอง มีพื้นที่ห่างจากเมืองกาฬสินธุ์ ๒๐ กิโลเมตร ผ่านไปยัง อำเภอสหัสขันธ์ ส่วนภายในตำบล ถนนสายหลักที่ผ่านภายในหมู่บ้านจะเป็นลาดยาง คสล. และถนนลูกรัง ถนนลูกรังจะมีปัญหาในการคมนาคม ในฤดูฝน เนื่องจากเป็นหลุมเป็นบ่อ น้ำขัง
๒) การไฟฟ้า หมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึง จำนวน ๗ หมู่บ้าน
๓) การประปา เทศบาลตำบลลำคลองได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการให้บริการประชาชนในการจัดให้มีน้ำประปาอย่างทั่วถึงทุกหมู่บ้าน ปัจจุบันเทศบาลตำบลลำคลองมีระบบน้ำประปาผิวดิน จำนวน ๖ โครงการ ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชนในการอุปโภคบริโภค
๔) การโทรคมนาคม โทรศัพท์สาธารณะ ๗๑ แห่ง
๕) ไปรษณีย์และการสื่อสาร ประชาชนในพื้นที่ใช้บริการไปรษณีย์ในเขตพื้นที่ตำบลไกลเคียงคือตำบลหนองสอ ซึ่งมีระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร แต่มีเจ้าหนี้ให้บริการในพื้นที่ การสื่อสารประชาชนในพื้นที่ให้โทรศัพท์สาธารณะเป็นส่วนน้อย ส่วนใหญ่ให้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการตืดต่อสื่อสารเป็นหลัก
๗. ระบบเศรษฐกิจ ชุมชนมีอาชีพและรายได้จากการประกอบอาชีพดังนี้
๑) การเกษตรประชากรในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลประกอบอาชีพทางการเกษตร ได้แก่ ข้อมูลด้านการเกษตร พื้นที่ทั้งหมด ๑๔,๗๔๔ ไร่
(๑) ข้าวนาปี ๗,๒๑๔ ไร่ จำนวน ๔๕๖ ครัวเรือน
(๒) ข้าวนาปรัง ๑.๒๐๐ ไร่ จำนวน ๒๐๐ ครัวเรือน
(๓) พืชไร่ ๒,๖๐๒ ไร่ จำนวน ๑,๒๖๔ ครัวเรือน
(๔) ไม้ผล ๘ ไร่ จำนวน ๙ ครัวเรือน
(๕) ไม้ยืนต้น ๕๒ ไร่ จำนวน ๓ ครัวเรือน
(๖) พืชผัก ๗๔ ไร่ จำนวน ๑๐๗ ครัวเรือน
(๗) การเกษตรอื่นๆ ๑๑๒ ไร่ จำนวน ๕๖ ครัวเรือน
๒) การประมง
(๑) การเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
(๒) การเลี้ยงปลาในบ่อดิน
(๓) การอนุบาล ลูกปลานิลเพื่อจำน่าย
(๔) อาชีพการประมงน้ำจืดในเขื่อนลำปาว
๓) ด้านประศุสัตว์
(๑) การเลี้ยง โค กระบือ
(๒) การเลี้ยงสุกร
(๓) การเลี้ยงเป็ด ไก่ดำ ไก่พันธุ์ไข่ ไก่พันธุ์พื้นเมือง
๔) การบริการ เทศบาลตำบลลำคลองได้จัดให้มีการบริการประชาชนดังนี้
(๑) ด้านการนำส่งผู้ป่วยฉุกเฉินโดยเปิดให้บริการตลอด ๒๔ ชั่วโมง
(๒) การให้บริการจัดเก็บภาษีเคลื่อนที่
(๓) การให้บริการแจกเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์
(๔) การบริการเก็บขยะ และการดูดสิ่งปฏิกูลโดยคิดค่าบริการในราคาต่ำเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนของประชาชนในพื้นที่
๕) การท่องเที่ยว พื้นที่รับผิดชอบติดกับแหล่งท่องเทียวที่สำคัญ เช่น จุดชมวิวเขื่อนลำปาว ตลาดชุมชนคนขายปลา (ผันน้ำ) และ หาดดอกเกด (ทะเลอีสาน)
๖) อุสาหกรรม พื้นที่เทศบาลตำบลลำคลอง ไม่มีโรงงานอุสาหกรรม ในพื้นที่เทศบาลตำบลลำคลองเป็นลักษณะอุสาหกรรมในครัวเรือน เป็นอุสาหกรรมขนาดเล็ก
๗) การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ เป็นการรวมกลุ่มของประชาชน การรวมกลุ่มทุกประเภท …๑๓… กลุ่ม แยกประเภทกลุ่ม
(๑) กลุ่มอาชีพ …๑๓… กลุ่ม
(๒) กลุ่มออมทรัพย์ …๑๓… กลุ่ม
(๓) กลุ่มอื่นๆ……-…… กลุ่ม
๘) แรงงาน ในพื้นที่เป็นการใช้แรงงานเกี่ยวกับการเกษตร การประมง การประศุสัตว์ ซึงเป็นอุสาหกรรมในครัวเรือน และการใช้แรงงานด้านการก่อสร้างในพื้นที่ และพื้นที่ไกลเคียงเป็นบ่างส่วน ประชากรส่วนมากในพื้นที่ ประกอบอาชีพเกษตรซึ่งซึ่งมีลักษณะการใช้แรงงานเป็นกลุ่ม เป็นชุมชนหมุนเวียนในกลุ่ม ในชุนชน
๘. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๑) การนับถือศาสนา ประชากรส่วนมากในพื้นที่เทศบาลตำบลลำคลองนับถือศาสนาพุทธ สถาบัน องค์กรทางศาสนา เช่น วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน ๗ แห่ง ได้แก่ วัดบ้านสะอาดนาทม วัดป่าศิริวรรณ วันศิริเจริญสุข วัดอนุมัจฉาราม วัดป่าชลประทานนิมิต วัดอัมพวันม่วงน้อย และ วัดมัจฉาราม
๒) ประเพณีและงานประจำปี ชุมชนมี ประเพณี มีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมคติความเชื่อวิถีปฏิบัติที่หลากหลายแต่ละฤดู เดือน จะมีพิธีปฏิบัติกิจกรรมตามความเชื่อหลากหลาย ชาวอีสานจะรู้จักดี คือ ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ เป็นภูมิปัญญา มรดกอันล้ำค่าของปราชญ์อีสานที่ทุกคนควรศึกษาและทำความเข้าใจในพื้นฐานความเชื่อคติเดิมชาวอีสานมากขึ้น เป็นส่วนที่ทำให้ชาวอีสานมีความสงบสุขร่มเย็นมาโดยตลอด เป็นภูมิปัญญา มรดกอันล้ำค่าของปราชญ์อีสานที่ทุกคนควรศึกษาและทำความเข้าใจในพื้นฐานความเชื่อคติเดิมชาวอีสานมากขึ้น เป็นส่วนที่ทำให้ชาวอีสานมีความสงบสุขร่มเย็นมาโดยตลอด โดยฮีตสิบสองคลองสิบสี่นี้ จะประกอบไปด้วย ฮีต ๑๒ ฮีต และคลอง ๔ ประเภท มี ๑๔ คลอง ได้แก่ บุญเข้ากรรม(บุญเดือนอ้าย) บุญคูณลาน เดือนยี่ บุญข้าวจี่(เดือนสาม) บุญเผวสหรือบุญมหาชาติ (เดือนสี่) บุญสงกรานต์ (บุญเดือนห้า) บุญบั้งไฟ (บุญเดือนหก) บุญเข้าพรรษา บุญข้าวประดับดิน บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา บุญกฐิน
๓) ภูมิปัญญาท้องถิ่น การเอาทรัพยากรความรู้ ทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งอาจเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน หรือเป็นลักษณะประจำท้องถิ่นมีคล้ายกันก็ได้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านในแต่ละท้องถิ่นเกิดจากการที่ชาวบ้านแสวงหาความรู้เพื่อเอาชนะอุปสรรคทางธรรมชาติ ทางสังคมที่จำเป็นในการดำรงชีวิต ภูมิปัญญาพื้นบ้านจึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและวิถีชีวิตชาวบ้าน เช่น การประกอบประเพณี พิธีกรรมของชุมชน เป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้กระทำสบายใจ รู้สึกอบอุ่นไม่โดดเดี่ยว ให้คุณค่าทางจิตใจและความรู้สึกถือว่าเป็นพลังทางศีลธรรมหรือประเพณี การรวมกำลังช่วยกันทำงานที่ใหญ่หลวงเกินวิสัยที่จะทำได้สำเร็จคนเดียว เช่น สร้างวัด สร้างถนนหนทาง หรือขุดลอกแหล่งน้ำ เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงความเอื้อเฟื้อช่วยเหลือกันภายในชุมชน ทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยทั่วไปภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อนเป็นประโยชน์แก่คนทุกระดับ มีลักษณะเด่นคือสร้างสำนึกเป็นหมู่คณะสูงทั้งในระดับครอบครัวและเครือญาติ
๔) สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก เป็นสินค้าที่เกิดจากการผลิตของกลุ่มอาชีพที่ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนจากเทศบาลตำบลลำคลองเช่น ตระกล้าไม้ไผ่ จากกลุ่มจักรสาร ปลาส้มถอดก้าง ปลาแห้ง ปลาหล้า กุ้งก้ามกราม ผักปลอด

๙. ด้านทรัพยากร เทศบาลลำคลองมีทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติและป้าไม้ในที่สาธารณา ดังนี้
๑. แหล่งน้ำธรรมชาติ เทศบาลตำบลลำคลอง มีแหล่งดังนี้ แม่น้ำที่เป็นลำห้วย ๔ สาย ที่สำคัญคือ ลำน้ำปาว ลำห้วยซัน ลำห้วยน้อย และลำห้วยใหญ่ บึง หนองและอื่นๆ ๗ แห่ง ที่สำคัญคือ หนองหัวลิง หนองสิม หนองแวง หนองค่า หนองม่วง กุดฟ้าน้อย และกุดฟ้าใหญ่
๒. ป่าไม้ทุ่งที่อยู่ในที่สาธารณะประโยชน์ ได้แก่ โคกดอนก่อ ดอนปู่ตาบ้านหาดทอง โคกป่าช้าหนองม่วง โคกวัดป่าศิวิวรรณ ดอนปู่ตาบ้านสะอาดใต้
๓. ด้านคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นป่าเสื่ยมโทรม ซึ่งเกิดจาการบุกรุกของประชาชนในพื้นที่ ซึงเทศบาลตำบลลำคลองได้มีโครงการปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าที่ถูกทำลายประจำทุกปี หาประชาชนมีความเข้าใจในการรักษาป่าไม้ ทรัพยากรธรรมชาติจะส่งผลให้การอนุรักษ์ป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำ ที่ใช้ในการหาเห็น ที่อยู่อาศัยของนก สัตว์ป่า และแหล่งเลี้ยงชุมชน จะมีป่าอยู่คู่กับชุมชนต่อไป
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ปัญหาคุณภาพชีวิต
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ชุมชนต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เข้าร่วมส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน จากการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โดยดำเนินการในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ โดยทีมงานสำนักบริการวิชาการ รศ.ประสบสุข ฤทธิเดช และคณะ ได้ลงพื้นที่พัฒนาชุมชน ส่งผลให้ ชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ให้ความสนใจขอให้มหาวิทยาลัยร่วมพัฒนาชุมชน เมื่อชุมชน โดยการนำของผู้นำชุมชน นายสถาพร ฉายประดิษฐ์ นายกเทศบาล ได้มาติดต่อสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลั้ยราชภัฏมหาสารคาม เพื่อให้ศึกษาและร่วมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนมีความต้องการหลายประเด็น ทั้งนี้หากเป็นไปได้ การทำฐานข้อมูลชุมชน นำสู่การวิเคราะห์เพื่อยกระดับการคุณภาพชีวิตของชุมชน การเข้าใจ เข้าถึง ชุมชนในพื้นที่ จึงเป็นขุดเริ่มต้นในการเข้าร่วมพัฒนา ชุมชนอย่างแท้จริง การที่ชุมชนมีปัจจัยและสิ่งที่เป็นองค์ความรู้ ทรัพยากร และความหลายกหลายอาชีพและรายได้ที่ดำเนินการชีวิตมาแต่เดิมนั้น หากจะเห็นการศึกษาเรียนรู้เข้าใจวัฒนธรรมของชุมชน สร้างเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ที่ดี ธำรงค์ไว้ และเติมเต็มในสิ่งที่ชุมชนต้องการเพื่อพัฒนาการเป็นอยู่ของชุมชนให้รู้เท่าทันประเทศไทยและโลก ๔.๐ รวมทั้งเทคโนโลยีอื่น ๆที่จะแทรกเข้ามาทางช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ อันจะทำให้ชุมชนเข้าใจผิดและหลงเชื่อด้วยความรู้ไม่เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ดังนั้นการทำให้ชุมชนสามารถเรียนรู้ เข้าใจ ในเทคโนโลยีผสานกับวิถีชีวิตของชุมชนอย่างเข้มแข็ง เพื่อธำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมดีดีงาม สืบสาน ต่อยอด จนทำให้สังคมได้รับการยอมรับหรือสร้างความโดเด่นเชิงวัฒนธรรมให้กับชุมชนได้นั้น ชุมชนจะต้องมีส่วนร่วมใน ร่วมคิด ร่วมวางแผน วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และขับเคลื่อนการพัฒนาไปด้วยกัน ให้เกิดผลงานที่เป็นผลลัพธ์ที่ส่งผลถึงความภาคภูมใจของชุมชน บนพื้นฐานวัฒฯธรรมและวิ๔ชีวิตของชุมชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จึงสนใจรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เป็นการบูรณาการศาสตร์ “บูรณาการศาสตร์โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้” เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และปฏิบัติการในพื้นที่จริงให้กับนักศึกษา สร้างงานวิจัยให้กับอาจารย์พี่ลี้ยงที่เป็นงานวิชัยเชิงพื้นที่ร่วมแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ให้กับประเทศชาติ โดยการนำนักศึกษา บุคลากร อาจารย์ที่มีความรู้ในศาสตร์ มีประสบการณ์วิจัยในพื้นที่ ร่วมปฏิบัติการลงพื้นที่ในชุมชนที่ต้องและได้เสนอให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามลงพื้นที่ เพื่อยกระดับส่งเสริมการพัฒนาชุมชน โดยชุมชนได้ขอร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (ตอนนี้อยู่ระหว่างการตรวจ MOU) เพื่อให้ชุมชนได้มีโอกาสพัฒนาต่อยอดตามบริบทและความต้องการของชุมชน ดังนี้ โครงการอาสาประชารัฐ ในครั้งนี้ จะเป็นกิจกรรมที่สำคัญมากที่จะทำให้มหาวิทยาลัยได้ศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบการส่งเสริมพัฒนาชุมชน โดยบูรณาการการเรียนการสอนของอาจารญ์และนักศึกษาหลาย ๆ ศาสตร์ ร่วมลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์บริบท ปัญหา สร้างฐานข้อมูลชุมชน นำมาวิเคราะห์และพัฒนาต่อยอด
ผลที่ได้กับชุมชน ชุมชนจะมีความเข้าใจในตนเอง รู้จักหน้าที่และสิทธิ ในการครองตนการเป็นพลเมืองที่ดี สร้างสุขภาวะในชุมชน สร้างสุขภาพที่ดีของชุมชนและครอบครัว การดูแลตนเอง การรู้จัดเลือกกิน เลือกใช้ เลือกผลิต อาหารที่ถูกหลัก การดูแลสุขภาวะของตนเอง-คนสูงอายุและเด็กเล็ก-รวมทั้งเยาวชนในวัยเรียน ให้รู้จักการประกอบอาชีพ สร้างรายได้และเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเทคโนโลยีมือถือของชุมชน โดยกิจกรรมร่วมกับชุมชนน้อมนำราชโชบายของราชภัฏสู่การพัฒนาท้องถิ่นสร้างจิตอาสาในชุมชน โดย ราชภัฏสร้าง “จิตอาสาประชารัฐพัฒนาชุมชน” ให้เป็นไปตาม ปณิทานของราชภัฏ “”คนของพระราชา ข้าของแผนดิน” ที่ร่วมกันในการลงพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป อันจะส่งผลให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏได้นำนักศึกษาและอาจารย์ได้ลงปฏิบัติการ วิจัยและศึกษาข้อมูลในชุมชน โดยนำนักศึกษาลงพื้นที่ปฏิบัติจริงในชุมชน เสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนให้ครอบคลุมในการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยใช้ศาสตร์ที่ได้ศึกษาในหลักสูตร บูรณาการเข้ากับศาสตร์ของกลุ่มที่ร่วมพัฒนา สร้างองค์ความรู้ใหม่ “ชีวิต ๔.๐ ในชุมชนมีความสุขด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิต”

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

นวัตกรรมกระบวนการ ที่เป็นการนำศาสตร์หลายสาขามาบูรณาการ สร้างรูปแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน นำมากำหนดกิจกรรมในการลงพื้นที่ ที่ได้นำความรู้ของอาจารย์และนักศึกษา ไปสู่การพัฒนาชุมชน ยกระดับการเรียนรู้ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชนที่ดีขึ้น ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวจะเป็นกิจกรรมที่ได้จากการสังเคราะห์เมื่อคณะทำงานทุกกลุ่มลงพื้นที่สำรวจและศึกษาชุมชนพร้อมกัน นำมาวางแผนการทำงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ชุมชนต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เข้าร่วมส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน จากการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โดยดำเนินการในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ โดยทีมงานสำนักบริการวิชาการ รศ.ประสบสุข ฤทธิเดช และคณะ ได้ลงพื้นที่พัฒนาชุมชน ส่งผลให้ ชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ให้ความสนใจขอให้มหาวิทยาลัยร่วมพัฒนาชุมชน เมื่อชุมชน โดยการนำของผู้นำชุมชน นายสถาพร ฉายประดิษฐ์ นายกเทศบาล ได้มาติดต่อสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลั้ยราชภัฏมหาสารคาม เพื่อให้ศึกษาและร่วมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนมีความต้องการหลายประเด็น ทั้งนี้หากเป็นไปได้ การทำฐานข้อมูลชุมชน นำสู่การวิเคราะห์เพื่อยกระดับการคุณภาพชีวิตของชุมชน การเข้าใจ เข้าถึง ชุมชนในพื้นที่ จึงเป็นขุดเริ่มต้นในการเข้าร่วมพัฒนา ชุมชนอย่างแท้จริง การที่ชุมชนมีปัจจัยและสิ่งที่เป็นองค์ความรู้ ทรัพยากร และความหลายกหลายอาชีพและรายได้ที่ดำเนินการชีวิตมาแต่เดิมนั้น หากจะเห็นการศึกษาเรียนรู้เข้าใจวัฒนธรรมของชุมชน สร้างเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ที่ดี ธำรงค์ไว้ และเติมเต็มในสิ่งที่ชุมชนต้องการเพื่อพัฒนาการเป็นอยู่ของชุมชนให้รู้เท่าทันประเทศไทยและโลก ๔.๐ รวมทั้งเทคโนโลยีอื่น ๆที่จะแทรกเข้ามาทางช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ อันจะทำให้ชุมชนเข้าใจผิดและหลงเชื่อด้วยความรู้ไม่เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ดังนั้นการทำให้ชุมชนสามารถเรียนรู้ เข้าใจ ในเทคโนโลยีผสานกับวิถีชีวิตของชุมชนอย่างเข้มแข็ง เพื่อธำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมดีดีงาม สืบสาน ต่อยอด จนทำให้สังคมได้รับการยอมรับหรือสร้างความโดเด่นเชิงวัฒนธรรมให้กับชุมชนได้นั้น ชุมชนจะต้องมีส่วนร่วมใน ร่วมคิด ร่วมวางแผน วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และขับเคลื่อนการพัฒนาไปด้วยกัน ให้เกิดผลงานที่เป็นผลลัพธ์ที่ส่งผลถึงความภาคภูมใจของชุมชน บนพื้นฐานวัฒฯธรรมและวิ๔ชีวิตของชุมชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จึงสนใจรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เป็นการบูรณาการศาสตร์ “บูรณาการศาสตร์โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้” เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และปฏิบัติการในพื้นที่จริงให้กับนักศึกษา สร้างงานวิจัยให้กับอาจารย์พี่ลี้ยงที่เป็นงานวิชัยเชิงพื้นที่ร่วมแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ให้กับประเทศชาติ โดยการนำนักศึกษา บุคลากร อาจารย์ที่มีความรู้ในศาสตร์ มีประสบการณ์วิจัยในพื้นที่ ร่วมปฏิบัติการลงพื้นที่ในชุมชนที่ต้องและได้เสนอให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามลงพื้นที่ เพื่อยกระดับส่งเสริมการพัฒนาชุมชน โดยชุมชนได้ขอร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (ตอนนี้อยู่ระหว่างการตรวจ MOU) เพื่อให้ชุมชนได้มีโอกาสพัฒนาต่อยอดตามบริบทและความต้องการของชุมชน ดังนี้ โครงการอาสาประชารัฐ ในครั้งนี้ จะเป็นกิจกรรมที่สำคัญมากที่จะทำให้มหาวิทยาลัยได้ศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบการส่งเสริมพัฒนาชุมชน โดยบูรณาการการเรียนการสอนของอาจารญ์และนักศึกษาหลาย ๆ ศาสตร์ ร่วมลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์บริบท ปัญหา สร้างฐานข้อมูลชุมชน นำมาวิเคราะห์และพัฒนาต่อยอด
ผลที่ได้กับชุมชน ชุมชนจะมีความเข้าใจในตนเอง รู้จักหน้าที่และสิทธิ ในการครองตนการเป็นพลเมืองที่ดี สร้างสุขภาวะในชุมชน สร้างสุขภาพที่ดีของชุมชนและครอบครัว การดูแลตนเอง การรู้จัดเลือกกิน เลือกใช้ เลือกผลิต อาหารที่ถูกหลัก การดูแลสุขภาวะของตนเอง-คนสูงอายุและเด็กเล็ก-รวมทั้งเยาวชนในวัยเรียน ให้รู้จักการประกอบอาชีพ สร้างรายได้และเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเทคโนโลยีมือถือของชุมชน โดยกิจกรรมร่วมกับชุมชนน้อมนำราชโชบายของราชภัฏสู่การพัฒนาท้องถิ่นสร้างจิตอาสาในชุมชน โดย ราชภัฏสร้าง “จิตอาสาประชารัฐพัฒนาชุมชน” ให้เป็นไปตาม ปณิทานของราชภัฏ “”คนของพระราชา ข้าของแผนดิน” ที่ร่วมกันในการลงพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป อันจะส่งผลให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏได้นำนักศึกษาและอาจารย์ได้ลงปฏิบัติการ วิจัยและศึกษาข้อมูลในชุมชน โดยนำนักศึกษาลงพื้นที่ปฏิบัติจริงในชุมชน เสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนให้ครอบคลุมในการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยใช้ศาสตร์ที่ได้ศึกษาในหลักสูตร บูรณาการเข้ากับศาสตร์ของกลุ่มที่ร่วมพัฒนา สร้างองค์ความรู้ใหม่ “ชีวิต ๔.๐ ในชุมชนมีความสุขด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิต”
การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง อาจารย์ นักศึกษา ชุมชน ได้เข้าใจการใช้ชีวิตในแต่ละบริบท สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง โดยใช้สภาพแสดล้อม สื่อ เทคโนโลยีที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ นำความรู้ที่ได้มาจัดการชีวิตสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
จิตอาสา หมายถึง การที่ทีมงานวิจัยและสมาชิกที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานของกิจกรรม/โครงการ อันได้แก่ ผู้บริหารบุคลากรและนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ส่วนราชการในชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ และประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย เข้าใจหน้าที่ และสิทธิ การเป็นพลเมืองที่พึงประสงค์ตามคุณลักณะ ๔ ประการ ในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ความเข้าใจการปกครอง การใช้ชีวิตอย่างเป็นสุข การอยู่ร่วมกับสังคม การพึ่งพาอาสัยกันและการเสียสระเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เป็นผู้ที่เอื้อเฟื้อ เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและสังคมให้เกิด ประโยชน์และความสุขมากขึ้น โดยอาสาสมัครร่วมสร้างงาน สร้างกิจกรรมที่ทำให้เกิดประโยชน์ในทางบวกต่อสังคมและชุมชน
การเรียนรู้จากชุมชน จะทำให้ได้พบข้อเท็จจริง ที่เป็นความต้องการของชุมชน จะได้แนวทางและความต้องการของชุมชนที่ชัดเจน การพัฒนา สร้างงาน สร้างรายได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งพาตนเอง มีรายได้ เข้าใจ เข้าถึงการใช้ชีวิต ในโลกเทคโนโลยี โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการกับศาสตร์พระราชา เพื่อให้สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีกินอย่างมีความสุขและปลอดภัยจากเทคโนโลยี สามารถใช้ชีวิตได้อย่างผาสุข มีความรักสามัคี เข้าใจหน้าที่ บทบาทการเป็นพลเมืองในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขอย่างยั่งยืนสืบไป
จากการร่วมจากการลงพื้นที่ เพื่อสอบถาม บริบท ปัญหา และความต้องการกับผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนชุมชน และชาวบ้านในพื้นที่ ในวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๒ พบว่า ชุมชนมีความต้องการเบื้องต้นดังนี้
๑. ต้องการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพื่อพัฒนาชุมชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเป็นพี่เลี้ยงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
๒. ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน ด้านการการศึกษา ในชุมชนมี โรงเรียนประถมศึกษา ๒ แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒ แห่ง ที่เด็กในวัยเรียน ๑๙๗ คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๕๙ คน
๓. ด้านสาธารณสุขพื้นฐาน เทศบาลตำบลลำคลอง มีสถานีอนามัย ตั้งอยู่ที่บ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๑ มีจำนวนบุคลากร ๔ คน อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐ และการดูแลสุขอนามัยของชุมชน เนื่องจากนุมชนมีการเลี้ยงสัตว์ วัว โค หมู่ ไก่ เป็น สุนัข และแมว
๔. อาชญากรรมและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเทศบาลตำบลลำคลอง ไม่มีสถานีตำรวจภายในตำบล ในการรักษาความปลอดภัยภายในตำบล ภายในหมู่บ้าน ทำให้ผู้นำชุมชนเป็นผู้ดูแลความปลอดภัยและรักษาความสงบ ถ้าเกิดเหตุจะประสานไปยังตำรวจภายใน สภ. ลำปาว ดังนั้นการสร้างจิตอาสาในการพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สร้างพลังของชุมชนให้มีความรักสามัคคี จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่ชุมชนต้องการให้เกิดขึ้นในชุมชน
๕. ยาเสพติด ปัญหาด้านการค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ อยู่ในระดับปานกลางเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ยาเสพติดที่มีปัญหาการค้าและแพร่ระบาดมากที่สุด คือ ยาบ้า รองลงมาเป็นกัญชาแห้ง และสารระเหย ตามลำดับ ส่วนไอซ์ กัญชาสด และพืชกระท่อม สภาพปัญหาอยู่ในระดับไม่รุนแรง การสังคมสงเคราะห์ งานในด้านการบำบัดและพื้นฟูผู้ป่วยและผู้ติดยาเสพติด และการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ผ่านการบำบัดและพื้นฟู แก้ไขผู้กระทำผิดประกอบด้วยผู้กระทำผิดที่มาจากหลากหลายรูปแบบของสังคม เป็นเด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ ชาย หญิง ผู้พิการ
๖. ด้านระบบบริการพื้นฐาน การคมนาคมขนส่ง เทศบาลตำบลลำคลอง มีพื้นที่ห่างจากเมืองกาฬสินธุ์ ๒๐ กิโลเมตร ผ่านไปยัง อำเภอสหัสขันธ์ ส่วนภายในตำบล ถนนสายหลักที่ผ่านภายในหมู่บ้านจะเป็นลาดยาง คสล. และถนนลูกรัง ถนนลูกรังจะมีปัญหาในการคมนาคม ในฤดูฝน เนื่องจากเป็นหลุมเป็นบ่อน้ำขัง
การไฟฟ้า หมู่บ้านที่ไฟฟ้าเข้าถึง จำนวน ๗ หมู่บ้าน และการประปา เทศบาลตำบลลำคลองได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการให้บริการประชาชนในการจัดให้มีน้ำประปาอย่างทั่วถึงทุกหมู่บ้าน ปัจจุบันเทศบาลตำบลลำคลองมีระบบน้ำประปาผิวดิน จำนวน ๖ โครงการ ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชนในการอุปโภคบริโภค ความต้องการของชุมชนเป็นอย่างไร ต้องการทำอะไร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
๗. ไปรษณีย์และการสื่อสาร ประชาชนในพื้นที่ใช้บริการไปรษณีย์ในเขตพื้นที่ตำบลไกลเคียงคือตำบลหนองสอ ซึ่งมีระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร แต่มีเจ้าหนี้ให้บริการในพื้นที่ การสื่อสารประชาชนในพื้นที่ให้โทรศัพท์สาธารณะเป็นส่วนน้อย ส่วนใหญ่ให้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการตืดต่อสื่อสารเป็นหลัก หากชุมชนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่ชุมชนมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ รู้จักใช้ จะช่วยด้านการสื่อสารได้สะดวกขึ้น
๘. ระบบเศรษฐกิจ ชุมชนมีอาชีพและรายได้จากการประกอบอาชีพดังนี้ ด้านการเกษตรประชากรในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลประกอบอาชีพทางการเกษตร ได้แก่ ข้อมูลด้านการเกษตร พื้นที่ทั้งหมด ๑๔,๗๔๔ ไร่
(๑) ข้าวนาปี ๗,๒๑๔ ไร่ จำนวน ๔๕๖ ครัวเรือน
(๒) ข้าวนาปรัง ๑.๒๐๐ ไร่ จำนวน ๒๐๐ ครัวเรือน
(๓) พืชไร่ ๒,๖๐๒ ไร่ จำนวน ๑,๒๖๔ ครัวเรือน
(๔) ไม้ผล ๘ ไร่ จำนวน ๙ ครัวเรือน
(๕) ไม้ยืนต้น ๕๒ ไร่ จำนวน ๓ ครัวเรือน
(๖) พืชผัก ๗๔ ไร่ จำนวน ๑๐๗ ครัวเรือน
(๗) การเกษตรอื่นๆ ๑๑๒ ไร่ จำนวน ๕๖ ครัวเรือน
๘.๒ ด้านการประมง ได้แก่ (๑) การเลี้ยงกุ้งก้ามกราม (๒) การเลี้ยงปลาในบ่อดิน (๓) การอนุบาล ลูกปลานิลเพื่อจำน่าย และ (๔) อาชีพการประมงน้ำจืดในเขื่อนลำปาว
๘.๓ ด้านประศุสัตว์ ได้แก่ (๑) การเลี้ยง โค กระบือ (๒) การเลี้ยงสุกร และ (๓) การเลี้ยงเป็ด ไก่ดำ ไก่พันธุ์ไข่ ไก่พันธุ์พื้นเมือง
๘.๔ ด้านการบริการ เทศบาลตำบลลำคลองได้จัดให้มีการบริการประชาชนดังนี้ (๑) ด้านการนำส่งผู้ป่วยฉุกเฉินโดยเปิดให้บริการตลอด ๒๔ ชั่วโมง (๒) การให้บริการจัดเก็บภาษีเคลื่อนที่ (๓) การให้บริการแจกเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ และ (๔) การบริการเก็บขยะ และการดูดสิ่งปฏิกูลโดยคิดค่าบริการในราคาต่ำเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนของประชาชนในพื้นที่
๘.๕ การท่องเที่ยว พื้นที่รับผิดชอบติดกับแหล่งท่องเทียวที่สำคัญ เช่น จุดชมวิวเขื่อนลำปาว ตลาดชุมชนคนขายปลา (ผันน้ำ) และ หาดดอกเกด (ทะเลอีสาน)
๘.๖ อุสาหกรรม พื้นที่เทศบาลตำบลลำคลอง ไม่มีโรงงานอุสาหกรรม ในพื้นที่เทศบาลตำบลลำคลองเป็นลักษณะอุสาหกรรมในครัวเรือน เป็นอุสาหกรรมขนาดเล็ก
๘.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ เป็นการรวมกลุ่มของประชาชน การรวมกลุ่มทุกประเภท …๑๓… กลุ่ม แยกประเภทกลุ่ม (๑) กลุ่มอาชีพ ๑๓ กลุ่ม และ (๒) กลุ่มออมทรัพย์ ๑๒ กลุ่ม
๘.๘ แรงงาน ในพื้นที่เป็นการใช้แรงงานเกี่ยวกับการเกษตร การประมง การประศุสัตว์ ซึงเป็นอุสาหกรรมในครัวเรือน และการใช้แรงงานด้านการก่อสร้างในพื้นที่ และพื้นที่ไกลเคียงเป็นบ่างส่วน ประชากรส่วนมากในพื้นที่ ประกอบอาชีพเกษตรซึ่งซึ่งมีลักษณะการใช้แรงงานเป็นกลุ่ม เป็นชุมชนหมุนเวียนในกลุ่ม ในชุนชน
๙. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม การนับถือศาสนา ประชากรส่วนมากในพื้นที่เทศบาลตำบลลำคลองนับถือศาสนาพุทธ สถาบัน องค์กรทางศาสนา เช่น วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน ๗ แห่ง ได้แก่ วัดบ้านสะอาดนาทม วัดป่าศิริวรรณ วันศิริเจริญสุข วัดอนุมัจฉาราม วัดป่าชลประทานนิมิต วัดอัมพวันม่วงน้อย และ วัดมัจฉาราม และประเพณีและงานประจำปี ชุมชนมี ประเพณี มีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมคติความเชื่อวิถีปฏิบัติที่หลากหลายแต่ละฤดู เดือน จะมีพิธีปฏิบัติกิจกรรมตามความเชื่อหลากหลาย ชาวอีสานจะรู้จักดี คือ ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ เป็นภูมิปัญญา มรดกอันล้ำค่าของปราชญ์อีสานที่ทุกคนควรศึกษาและทำความเข้าใจในพื้นฐานความเชื่อคติเดิมชาวอีสานมากขึ้น เป็นส่วนที่ทำให้ชาวอีสานมีความสงบสุขร่มเย็นมาโดยตลอด เป็นภูมิปัญญา มรดกอันล้ำค่าของปราชญ์อีสานที่ทุกคนควรศึกษาและทำความเข้าใจในพื้นฐานความเชื่อคติเดิมชาวอีสานมากขึ้น เป็นส่วนที่ทำให้ชาวอีสานมีความสงบสุขร่มเย็นมาโดยตลอด โดยฮีตสิบสองคลองสิบสี่นี้ จะประกอบไปด้วย ฮีต ๑๒ ฮีต และคลอง ๔ ประเภท มี ๑๔ คลอง ได้แก่ บุญเข้ากรรม(บุญเดือนอ้าย) บุญคูณลาน เดือนยี่ บุญข้าวจี่(เดือนสาม) บุญเผวสหรือบุญมหาชาติ (เดือนสี่) บุญสงกรานต์ (บุญเดือนห้า) บุญบั้งไฟ (บุญเดือนหก) บุญเข้าพรรษา บุญข้าวประดับดิน บุญข้าวสาก บุญออกพรรษา บุญกฐิน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น การเอาทรัพยากรความรู้ ทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งอาจเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน หรือเป็นลักษณะประจำท้องถิ่นมีคล้ายกันก็ได้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านในแต่ละท้องถิ่นเกิดจากการที่ชาวบ้านแสวงหาความรู้เพื่อเอาชนะอุปสรรคทางธรรมชาติ ทางสังคมที่จำเป็นในการดำรงชีวิต ภูมิปัญญาพื้นบ้านจึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและวิถีชีวิตชาวบ้าน เช่น การประกอบประเพณี พิธีกรรมของชุมชน เป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้กระทำสบายใจ รู้สึกอบอุ่นไม่โดดเดี่ยว ให้คุณค่าทางจิตใจและความรู้สึกถือว่าเป็นพลังทางศีลธรรมหรือประเพณี การรวมกำลังช่วยกันทำงานที่ใหญ่หลวงเกินวิสัยที่จะทำได้สำเร็จคนเดียว เช่น สร้างวัด สร้างถนนหนทาง หรือขุดลอกแหล่งน้ำ เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงความเอื้อเฟื้อช่วยเหลือกันภายในชุมชน ทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดยทั่วไปภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อนเป็นประโยชน์แก่คนทุกระดับมีลักษณะเด่นคือสร้างสำนึกเป็นหมู่คณะสูงทั้งในระดับครอบครัวและเครือญาติ
และสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก เป็นสินค้าที่เกิดจากการผลิตของกลุ่มอาชีพที่ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนจากเทศบาลตำบลลำคลองเช่น ตระกล้าไม้ไผ่ จากกลุ่มจักรสาร ปลาส้มถอดก้าง ปลาแห้ง ปลาหล้า กุ้งก้ามกราม ผักปลอด

๑๐. ด้านทรัพยากร เทศบาลลำคลองมีทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติและป้าไม้ในที่สาธารณา ดังนี้
๑๐.๑ แหล่งน้ำธรรมชาติ เทศบาลตำบลลำคลอง มีแหล่งดังนี้ แม่น้ำที่เป็นลำห้วย ๔ สาย ที่สำคัญคือ ลำน้ำปาว ลำห้วยซัน ลำห้วยน้อย และลำห้วยใหญ่ บึง,หนองและอื่นๆ ๗ แห่ง ที่สำคัญคือ หนองหัวลิง, หนองสิม, หนองแวง, หนองค่า หนองม่วง กุดฟ้าน้อย และกุดฟ้าใหญ่
๑๐.๒ ป่าไม้ทุ่งที่อยู่ในที่สาธารณะประโยชน์ ได้แก่ โคกดอนก่อ ดอนปู่ตาบ้านหาดทอง โคกป่าช้าหนองม่วง โคกวัดป่าศิวิวรรณ ดอนปู่ตาบ้านสะอาดใต้
๑๐.๓ ด้านคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นป่าเสื่ยมโทรม ซึ่งเกิดจาการบุกรุกของประชาชนในพื้นที่ ซึงเทศบาลตำบลลำคลองได้มีโครงการปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าที่ถูกทำลายประจำทุกปี หาประชาชนมีความเข้าใจในการรักษาป่าไม้ ทรัพยากรธรรมชาติจะส่งผลให้การอนุรักษ์ป่าที่เป็นแหล่งต้นน้ำ ที่ใช้ในการหาเห็น ที่อยู่อาศัยของนก สัตว์ป่า และแหล่งเลี้ยงชุมชน จะมีป่าอยู่คู่กับชุมชนต่อไป

ดังนั้นจากปัจจัยที่ ชุมชนมีโดยรวมแล้ว การสร้างชุมชนให้สามารถมีความเข้มแข็งสามารถพึงตนเองได้ นั้น จำเป็นต้องศึกษาข้อมูลบริบทของชุมชน ปัญหา ศักยภาพและความต้องการของชุมชน โดยการใช้หลักการบูรณาการศาสตร์ โดยนักศึกษาและอาจารย์ลงพื้นที่ แฝงตัวในชุมชน เข้าพบและพูดคุยกับประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งร่วมใช้ชีวิตกับชุมชน เพื่อเรียนรู้วิ๔ชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชน จะได้เข้าใจถึงการยอมรับและปฏิเสธความต้องการของชุมชนได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanakit Thanakit เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 22:59 น.