โครงการหมู่บ้านมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน สหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน บ้านโชคชัยพัฒนา
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายบัณฑิต สุริยวงศ์พงศา
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมาสตร์แ
ปี พ.ศ. 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มกราคม 2560 -
งบประมาณ 150,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เขาวง สงเปลือย place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
เขาวงเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์โดยถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีจุดเด่นและมีชื่อเสียงในเรื่องการผลิตข้าวมาช้านานโดยเฉพาะข้าวเหนียวเขาวงที่มีชื่อเสียง และมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคมากเนื่องจากมีสภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสมมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหลายโครงการได้มีการเข้ามาดำเนินการในพื้นที่เช่นโครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจากพระราชดำริถือว่าเป็นโครงการหนึ่งที่ได้สร้างความอยู่ดีกินดีอยู่ดีให้กับประชากรในท้องถิ่นโดยเฉพาะเรื่องของการผลิตข้าวครบวงจร
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

เขาวงเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์โดยถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีจุดเด่นและมีชื่อเสียงในเรื่องการผลิตข้าวมาช้านานโดยเฉพาะข้าวเหนียวเขาวงที่มีชื่อเสียง และมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคมากเนื่องจากมีสภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสมมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหลายโครงการได้มีการเข้ามาดำเนินการในพื้นที่เช่นโครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจากพระราชดำริถือว่าเป็นโครงการหนึ่งที่ได้สร้างความอยู่ดีกินดีอยู่ดีให้กับประชากรในท้องถิ่นโดยเฉพาะเรื่องของการผลิตข้าวครบวงจรซึ่ง เกษตรกรได้ดำเนินการไปแล้วในส่วนภาคการผลิตข้าวที่มีการใช้ระบบชลประทานและในปี 2550 ได้รับงบประมาณสร้างโรงสีข้าวชุมชนขึ้นในพื้นที่ปัจจุบันมีสมาชิกเข้าร่วมโครงการมากกว่า 170 คน มีข้าวเปลือกที่สมาชิกสามารถผลิตได้ต่อปีไม่น้อยกว่า 400 ตัน จากผลการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านราชมงคลปี 2558 ซึ่งเป็นโครงการสุดท้ายของชุดโครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสานปัจจุบันโรงสีข้าวดังกล่าวสามารถสีข้าวเปลือกได้ปริมาณไม่น้อยกว่า 140 ตันต่อปีโดยคิดเป็นการสีข้าวเพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่ประมาณ 100 ตันข้าวเปลือก และสีขาวเพื่อการค้าประมาณ 40 ตันข้าวเปลือกผลการดำเนินการที่ผ่านมาประสบปัญหาราคาข้าวเปลือกแพงอันเป็นผลสืบเนื่องจากมีพ่อค้าคนกลางและรู้สีนอกพื้นที่เข้ามากว้านซื้อข้าวเปลือกแต่ก็ยังผลดีให้แก่สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรคือทำให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรในพื้นที่สามารถขายข้าวเปลือกได้ในราคาที่สูงกว่าท้องตลาดและสามารถรับเงินสดจากรู้สีได้ทันทีซึ่งขั้นตอนการรับซื้อข้าวเปลือกจาก เกษตรกรก็ดำเนินการเหมือนโรงสีใหญ่โดยทั่วไปคือดูจากคุณภาพข้าวเป็นหลักซึ่งเป็นองค์ความรู้หนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนโครงการหมู่บ้านราชมงคลในปีที่ผ่านมาปัญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือคณะกรรมการบริหารงานของสหกรณ์และสมาชิกที่ดำเนินการขาดองค์ความรู้ด้านการตลาดการขายการผลิตอาหารที่ปลอดภัยสำหรับโรงสีข้าวตลอดจนยังขาดบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณภาพและหากได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ในเรื่องส่วนที่ยังขาดอยู่ก็จะเป็นแนวทางหนึ่งที่ทำให้ศากรรู้สีข้าวชุมชนตำบลสงเปลือยสามารถอยู่ได้อย่างเข้มแข็งและมั่นคงตลอดไป การดำเนินการโครงการหมู่บ้านมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ในปีงบประมาณ 2560 คณะผู้ดำเนินงานมุ่งเน้นกิจกรรมที่ให้สมาชิกสหกรณ์โรงสีข้าวชุมชนตำบลสงเปลือยใช่ไหมถึงจะตนเองพึ่งพากันเองได้อย่างเข้มแข็งและยังยืนซึ่งมีกิจกรรมย่อยประกอบด้วยการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรงสีข้าวจีเอ็มพีการบริหารจัดการด้านการขายและการตลาดการบรรจุภัณฑ์มาตรฐานสำหรับข่าวสาร

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 22:03 น.