โครงการการถ่ายทอดผลงานวิจัย:นวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตนจากข้าวดอกมะลิ 105 และข้าวไรซ์เบอร์รี่จังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการการถ่ายทอดผลงานวิจัย:นวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตนจากข้าวดอกมะลิ 105 และข้าวไรซ์เบอร์รี่จังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการถ่ายทอดผลงานวิจัย:นวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตนจากข้าวดอกมะลิ 105 และข้าวไรซ์เบอร์รี่จังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน กลุ่มนาแปลงใหญ่และกลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านหนองแวง
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางกรรณิการ์ ห้วยแสน
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีกา
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มกราคม 2562 -
งบประมาณ 15,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สมเด็จ หนองแวง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้าวจัดเป็นยุทธศาสตร์ของชาติ เกษตรกรนิยมปลูกข้าวขาวดอกมะลิ105 ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ด้วยเป็นที่ต้องการของตลาดโลก นอกจากนี้นิยมเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่ ด้วยเป็นพันธุ์ที่ได้รับการส่งเสริมและเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค เนื่องจากเป็นพันธุ์ข้าวที่ดีต่อสุขภาพคนไทย ลักษณะเมล็ดข้าวสีม่วงดา รสชาติหอมหวานนุ่มนวล มีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต และลดคอเลสเตอรอลในเลือด อย่างไรก็ตามในการนาวัตถุดิบข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต้องทราบข้อมูลพื้นฐานองค์ประกอบทางเคมีของข้าว ได้แก่ ความชื้น โปรตีนรวม ไขมันรวม เยื่อใยรวม เถ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งปริมาณแอมิโลสและสมบัติความหนืดของแป้งข้าว จากการสืบค้นข้อมูล แต่ยังขาดข้อมูลคุณสมบัติด้านนี้ ในปัจจุบันมีการนาแป้งข้าวเจ้า (ไม่ผ่านการดัดแปร และข้าวนึ่ง ข้าวฮาง) ทดแทนแป้งสาลี โดยเฉพาะผลิตอาหารปลอดกลูเตนสาหรับผู้บริโภคที่แพ้กลูเตน ซึ่งถ้าต้องการใช้แป้งข้าวทดแทนแป้งสาลีทั้งหมด ต้องเติมสารช่วยการพยุงโครงร่างของโปรตีนข้าว ดังนั้นจึงมีแนวคิดการถ่ายทอดผลงานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตนจากข้าวขาวดอกมะลิ105 และข้าวไรซ์เบอร์รี่จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ข้าวจัดเป็นยุทธศาสตร์ของชาติ เกษตรกรนิยมปลูกข้าวขาวดอกมะลิ105 ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ด้วยเป็นที่ต้องการของตลาดโลก นอกจากนี้นิยมเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่ ด้วยเป็นพันธุ์ที่ได้รับการส่งเสริมและเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค เนื่องจากเป็นพันธุ์ข้าวที่ดีต่อสุขภาพคนไทย ลักษณะเมล็ดข้าวสีม่วงดา รสชาติหอมหวานนุ่มนวล มีคุณค่าทางโภชนาการสูงโดยเฉพาะสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต และลดคอเลสเตอรอลในเลือด อย่างไรก็ตามในการนาวัตถุดิบข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต้องทราบข้อมูลพื้นฐานองค์ประกอบทางเคมีของข้าว ได้แก่ ความชื้น โปรตีนรวม ไขมันรวม เยื่อใยรวม เถ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งปริมาณแอมิโลสและสมบัติความหนืดของแป้งข้าว จากการสืบค้นข้อมูล แต่ยังขาดข้อมูลคุณสมบัติด้านนี้ ในปัจจุบันมีการนาแป้งข้าวเจ้า (ไม่ผ่านการดัดแปร และข้าวนึ่ง ข้าวฮาง) ทดแทนแป้งสาลี โดยเฉพาะผลิตอาหารปลอดกลูเตนสาหรับผู้บริโภคที่แพ้กลูเตน ซึ่งถ้าต้องการใช้แป้งข้าวทดแทนแป้งสาลีทั้งหมด ต้องเติมสารช่วยการพยุงโครงร่างของโปรตีนข้าว ดังนั้นจึงมีแนวคิดการถ่ายทอดผลงานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารปลอดกลูเตนจากข้าวขาวดอกมะลิ105 และข้าวไรซ์เบอร์รี่จังหวัดกาฬสินธุ์

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:35 น.