โครงการการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน

โครงการการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ในชุมชน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
หน่วยงานหลัก สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
หน่วยงานร่วม องค์การบริหารส่วนตำบลควนขนุน
ชื่อชุมชน ชุมชนตำบลควนขนุน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์อัฏฐพล เทพยา
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา คณาจารย์สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ
การติดต่อ 074-317-619
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 15,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
พัทลุง เขาชัยสน ควนขนุน ชนบท place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
รูปแบบบรรจุภัณฑ์ไม่เป็นที่สนใจของตลาด
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
การพัฒนาด้านรูปแบบทางด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันในตลาด

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและเป็นการเผยแพร่ศักยภาพทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยทักษิณ

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

หลักสูตรศิลปะการออกแบบ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เห็นความสำคัญของการฝึกฝนทักษะทางด้านปฏิบัติทางการออกแบบกราฟฟิก เพื่อใช้ในการสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ทางด้านการออกแบบ จึงได้จัดการอบรมและฝึกปฏิบัติการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ต้องการการพัฒนาด้านรูปแบบทางด้านบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันในตลาดให้มีความทัดเทียมกับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ จึงสนับสนุนให้บุคคลทั่วไป เยาวชน นักเรียน นักศึกษาและบุคคลที่สนใจการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถ ความชำนาญทางการออกแบบให้มีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นกำลังในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและเป็นการเผยแพร่ศักยภาพทางด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยทักษิณ ให้เป็นที่ประจักษ์และรู้จักกันอย่างแพร่หลาย

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:23 น.