โครงการบริการชาการ เชิงปฏิบัติการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์สู่ชุมชน

โครงการบริการชาการ เชิงปฏิบัติการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์สู่ชุมชน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบริการชาการ เชิงปฏิบัติการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์สู่ชุมชน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
หน่วยงานหลัก คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
หน่วยงานร่วม องค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย
ชื่อชุมชน บ้านนาฝาย
ชื่อผู้รับผิดชอบ อ.ดุษฎีพร หิรัญ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา อาจารย์สุรวุฒิ สุดหา
การติดต่อ 0812658116
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 250,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ชัยภูมิ เมืองชัยภูมิ นาฝาย place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งตำบลนาฝายเป็นส่วนหนึ่งในจำนวน 19 ตำบล ของอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ อำเภอเมืองชัยภูมิ พื้นที่แต่ละหมู่บ้านมีลักษณะค่อนข้างกระจัดกระจาย ตามกลุ่มหมู่บ้านไปทั่วพื้นที่ในตำบลนาฝายส่วน ที่ตั้งของที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาฝาย อยู่บริเวณบ้านช่อระกา หมู่ที่ 9ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองประมาณ 7 กิโลเมตร มีพื้นที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ประมาณ 112 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 69,668.75 ไร่
ในการจัดโครงการบริการวิชาการ เชิงปฎิบัติการบูรราการทางวิทยาศาสตร์ นี้ ต้องการที่จะพัฒนาและส่งเสริม อีกทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ยังเป็นเป็นแหล่งรวมความรู้ มีบุคลากรที่มีความสามารถทางวิชาการ การน าหลักการ วิชาการที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยออกมาทำประโยชน์สู่ชุมชน จึงนับเป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่งของมหาวิทยาลัย คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว ขึ้นเพื่อบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม สามารถที่จะบูรณาการองค์ความรู้ จากการจัดการเรียนการสอน การวิจัย มาสู่การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และนำ ประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการกลับมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ โดยจัดทำรูปแบบของการบริการจัดฝึกอบรม และประชุมเชิง ปฏิบัติการ
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
คณาจารย์ที่มีความรู้หลาหลาย /สามารถบูรณาการความรู้ร่วมกับชุมชนได้
ห้องปฎิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย
มีความหลากหลายของสาขาวิชาต่าง ในการนำเอาศาสตร์ความรู้มาบริการวิชาการแก่ชุมชน ได่อย่างทั่วถึง
มีแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

โครงการบริการวิชาการ เชิงปฎิบัติการบูรราการทางวิทยาศาสตร์ นี้ ต้องการที่จะพัฒนาและส่งเสริม อีกทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ยังเป็นเป็นแหล่งรวมความรู้ มีบุคลากรที่มีความสามารถทางวิชาการ การน าหลักการ วิชาการที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยออกมาทำประโยชน์สู่ชุมชน จึงนับเป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่งของมหาวิทยาลัย คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว ขึ้นเพื่อบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม สามารถที่จะบูรณาการองค์ความรู้ จากการจัดการเรียนการสอน การวิจัย มาสู่การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และนำ ประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการกลับมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ โดยจัดทำรูปแบบของการบริการจัดฝึกอบรม และประชุมเชิง ปฏิบัติการ

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • โครงการบริการวิชาการ เชิงปฎิบัติการบูรรณาการทางวิทยาศาสตร์

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย aomdussadee aomdussadee เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 10:44 น.