แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน

แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ แนวทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามแนวพระราชดำริ เพื่อการสร้างอาชีพที่ยั่งยืน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน กลุ่มเกษตรบ้านโคกแง้ ตำบลเขาพระนอน อำเภอยางตลาด กลุ่มอนุรักษ์พันธุกรรมพืชพื้นบ้าน และกลุ่มบริหารจัดการน้ำชุมชน เครือข่ายมูลนิธิอุทกพัฒน์ ตำบลนาคู อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางสาวิภา รัตนกร
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาเทคโนโลยีการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาเทคโนโลยีการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษ
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 มิถุนายน 2562 -
งบประมาณ 30,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด เขาพระนอน place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างแพร่หลายและมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัตว์น้ำเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาดุก ปลาหมอไทย เป็นต้น ซึ่งการที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจะประสบผลสำเร็จได้ เป็นผลมาจากปัจจัยหลายอย่างได้แก่ พันธุ์สัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ วิธีการเลี้ยง รวมถึงสภาพแวดล้อม ทั้งนี้หากเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในปัจจัยต่างๆ ย่อมนำมาซึ่งความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจุบันแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ที่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ พออยู่ พอกิน และพอเพียงในการใช้ชีวิตเป็นแนวคิดที่เกษตรกรให้ความสนใจและหันมาปฏิบัติตามมากขึ้นในการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่แต่จากเดิมเกษตรกรมีเพาะเลี้ยงแล้วจำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง แต่ปัจจุบันมีเกษตรกรส่วนหนึ่งได้หันมาใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพโดยเริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงจนถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่าย ซึ่งศาสตร์ในการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารก็เป็นอีกด้านที่เกษตรกรพึงมี เพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัวนอกเหนือจากการจำหน่ายในรูปแบบสดเท่านั้น ดังนั้นการถ่ายทอดความรู้ตั้งแต่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจนถึงการแปรรูปสัตว์น้ำจึงเป็นการสร้างอาชีพให้เกิดความยั่งยืนและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างแพร่หลายและมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัตว์น้ำเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยง เช่น ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาดุก ปลาหมอไทย เป็นต้น ซึ่งการที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจะประสบผลสำเร็จได้ เป็นผลมาจากปัจจัยหลายอย่างได้แก่ พันธุ์สัตว์น้ำ อาหารสัตว์น้ำ คุณภาพน้ำ วิธีการเลี้ยง รวมถึงสภาพแวดล้อม ทั้งนี้หากเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในปัจจัยต่างๆ ย่อมนำมาซึ่งความสำเร็จในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจุบันแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ที่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ พออยู่ พอกิน และพอเพียงในการใช้ชีวิตเป็นแนวคิดที่เกษตรกรให้ความสนใจและหันมาปฏิบัติตามมากขึ้นในการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่แต่จากเดิมเกษตรกรมีเพาะเลี้ยงแล้วจำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง แต่ปัจจุบันมีเกษตรกรส่วนหนึ่งได้หันมาใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในอาชีพโดยเริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงจนถึงการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจำหน่าย ซึ่งศาสตร์ในการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารก็เป็นอีกด้านที่เกษตรกรพึงมี เพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัวนอกเหนือจากการจำหน่ายในรูปแบบสดเท่านั้น ดังนั้นการถ่ายทอดความรู้ตั้งแต่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจนถึงการแปรรูปสัตว์น้ำจึงเป็นการสร้างอาชีพให้เกิดความยั่งยืนและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 15:21 น.