สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

diversity_2

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

assignment
บันทึกกิจกรรม
การประชุม คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและติดตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพสังคมและสุขภาวะ แนวทางการขับเคลื่อนมติ ๑๐.๑ การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรม ทางกายเพิ่มขึ้น26 กรกฎาคม 2565
26
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและติดตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพสังคมและสุขภาวะ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๕ วันอังคารที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๓๐ - ๑๖.๓๐ น.
ณ ห้องประชุมสุชน ๑-๒ ชั้น ๒ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ภายในกระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แนวทางการขับเคลื่อนมติ 10.1 การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 1. กรมปกครองส่วนท้องถิ่น สปสช. กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงสาธารสุข สนับสนุนการยกระดับการพัฒนากลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
- ยกระดับกองุทนที่มีศักยภาพ ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ สำหรับกองทุนในพื้นที่ใกล้เคียง - ยกระดับการบูรณาการทำงานร่วมกันในระดับพื้นที่ตำบลและรดับอำเภอ ให้ พชอ. และ พชต. เป็นกลไกสำคัญในเครือข่ายและในระบบสุขภาพชุมชน

  1. กรมปกครองส่วนท้องถิ่น สมาคมสันนิบาตแห่งประเทศไทยสนับสนุนการขับเคลื่อนการนำแนวทางคู่มือการออกแบบการใช้พื้นที่สาธารณะส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะไปใช้ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  2. กรุงเทพมหานคร สปสช.เป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับ สสส. โดยสถาบันนโยบายนสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ ขยายพื้นที่การดำเนินงานในเขตสุขภาพ 13 กรุงเทพมหานคร (เลือกพื้นที่ต้นแบบ)

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 2 ราชบุรี22 กรกฎาคม 2565
22
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 2 วันศุกร์ที่ 22 กรกฎาคม 2565  เวลา 9.00-16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงแรมราชาบุระ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
และประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์โปรแกรม ZOOM https://zoom.us/j/9019029104

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนโครงการที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 50 คน
  3. ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 25 โครงการ
  • กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมเชิงปฏิบัติการฯ
    โดย นางสาวพัณณ์วลัย โฉมยงค์ ผู้อำนวยการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดราชบุรี
  • แลกเปลี่ยนการปรับปรุงแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย
    โดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ หัวหน้างาน สปสช.เขต 12 สงขลา และทีมพี่เลี้ยง จ.ราชบุรี
  • แบ่งกลุ่มปรับปรุงแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์
    โดย เครือข่าย กกท. กองทุนสุขภาพตำบลฯ จ.ราชบุรี และทีมพี่เลี้ยง สปสช.
  • นำเสนอแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย
    โดย  ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ นักวิชาการ สปสช.เขต 12 สงขลา และทีมพี่เลี้ยง จ.ราชบุรี
  • แบ่งกลุ่มปรับปรุงข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์ โดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ นักวิชาการ สปสช.เขต 12 สงขลา และทีมพี่เลี้ยง จ.ราชบุรี
  • นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย
    โดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ นักวิชาการสปสช.เขต 12 สงขลา และทีมพี่เลี้ยง จ.ราชบุรี
  • สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป โดย นางสาวพัณณ์วลัย โฉมยงค์ ผู้อำนวยการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดราชบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 2 ตรัง (ลานกีฬาสาธารณะ)20 กรกฎาคม 2565
20
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน
และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 2
วันพุธที่ 20 กรกฎาคม 2565 เวลา เวลา 09.00-16.30 น. ณ โรงแรมเรือรัษฎา อ.เมือง จ.ตรัง
และประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์โปรแกรม ZOOM https://zoom.us/j/9019029104

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนโครงการที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 50 คน
  3. ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 25 โครงการ
  • กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมเชิงปฏิบัติการฯ
    โดย นายณรงค์ โสภารัตน์ ผู้อำนวยการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดตรัง
  • แลกเปลี่ยนการปรับปรุงแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • แบ่งกลุ่มปรับปรุงแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์
    โดย เครือข่าย กกท. กองทุนสุขภาพตำบลฯ จ.ตรัง และทีมพี่เลี้ยง สปสช.
  • นำเสนอแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย
    นำกระบวนการโดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • แบ่งกลุ่มปรับปรุงข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์ โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง

  • นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย
    โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง

  • สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป โดย นายณรงค์ โสภารัตน์ ผู้อำนวยการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดตรัง

การประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่14 กรกฎาคม 2565
14
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่ 14-16 กรกฎาคม 2565 การประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ณ ห้องประชุมโรงแรม La Vela Khao Lak (ลาเวล่า เขาหลัก) อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และหลักการแนวทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ทิศทางเป้าหมายระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2565-2574) กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และแนวทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สสส.

  • นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ (เขต 1, 4, 10, 12 นำเสนอเขตละ 20 นาที) โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงฯ

  • Workshop แบ่งกลุ่มตามเขต ถอดบทเรียนผลการทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงฯ นำกระบวนการโดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.

  • Workshop แบ่งกลุ่มตามเขต ปรับปรุงฐานข้อมูลแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย จำนวน 120 แห่ง
    โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงฯ นำกระบวนการโดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.

  • การวางแผนการขยายพื้นที่ความร่วมมือคณะกรรมการปฏิรูปลานกีฬาสาธารณะ และการยกระดับการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่
    โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • Workshop แบ่งกลุ่มตามเขต ออกแบบแผนการดำเนินงานความร่วมมือคณะกรรมการปฏิรูปลานกีฬาสาธารณะและการยกระดับการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่
    โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงฯ

  • นำเสนอแผนการขยายพื้นที่ความร่วมมือคณะกรรมการปฏิรูปลานกีฬาสาธารณะและการยกระดับการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่
    โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. และคณะทำงานพี่เลี้ยงฯ

  • สรุปผลการประชุมและวางแนวทางการดำเนินงานระยะถัดไป
    โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. และคณะทำงานพี่เลี้ยงฯ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 1 ราชบุรี11 กรกฎาคม 2565
11
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 1
วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา เวลา 9.00-16.30 น. ณ หอประชุมศาลาประชารวมใจเทศบาลเมืองราชบุรี อ.เมือง จ.ราชบุรี
และประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์โปรแกรม ZOOM https://zoom.us/j/9019029104
เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายฯให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนโครงการที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 50 คน
3. ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 25 โครงการ
กำหนดการ
09.00 – 09.30 น. - ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ความร่วมมือคณะปฏิรูปประเทศด้านลานกีฬาสาธารณะ: การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย ผู้อำนวยการ การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดราชบุรี
  ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 5 จังหวัดราชบุรี
  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ (ผู้แทน) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 09.30 – 10.30 น. - นำเสนอหลักการแนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และแผนของเครือข่าย
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10.30 – 12.00 น. - ปฏิบัติการจัดทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
โดย ภาคีเครือข่าย กกท. สปสช. สสส.
นำกระบวนการโดย 1. ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ
2. ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.30 น. - นำเสนอหลักการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อขอทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 14.30 – 16.00 น. - ปฏิบัติการจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อขอทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดย ภาคีเครือข่าย กกท. สปสช. สสส.
นำกระบวนการโดย 1. ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ
2. ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 16.00 – 16.30 น. สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป หมายเหตุ : พักเบรกและยืดเหยียดร่างกาย เวลาประมาณ 10.30 น. และ 14.30 น.   โปรดนำคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คมาท่านละ 1 เครื่อง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย  ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 1 จังหวัดราชบุรี” ณ ห้องประชุมศาลาประชารวมใจ เทศบาลเมืองราชบุรีนี้

กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยความร่วมมือกับ กับคณะปฏิรูปประเทศลานกีฬาสาธารณะ การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ให้มีทักษะการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ซึ่งทางโครงการได้คัดเลือกจังหวัดราชบุรี เป็นพื้นที่นำร่อง
ทั้งนี้เพื่อต้องการให้ชมรมเครือข่ายของการกีฬาแห่งประเทศไทยจังหวัดราชบุรี จำนวน 50 คน และกองทุนสุขภาพตำบลของ สปสช.จำนวน 112 กองทุน และภาคีเครือข่ายฯใสนจังหวัดราชบุรี ได้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน และการเขียนโครงการที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 50 คน  และได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 25 โครงการ

การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอหรือให้ขยับตัวเคลื่อนไหวและมีการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ เช่น
- กิจกรรมทางกายในอาชีพ ขนของขึ้นลง เกี่ยวข้าว จับปลา
- การทำงานบ้าน/งานสวน/งานสนาม ในบริเวณบ้าน ทำงานบ้าน ทำครัว ล้างถ้วยชาม เช็ดถูกระจก ล้างขัดพื้น ถูบ้าน เก็บเกี่ยวดอกไม้/ผลไม้/ผัก ขุดดิน ตัดแต่งกิ่ง ดายหญ้า - การเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่เหนึ่ง เดินไปทำงาน ถีบจักรยานไปทำงาน เดินไปทำธุระ เดินขึ้นบันได
- กิจกรรมออกกำลังกาย เดินเล่น เดินทางไกล แอโรบิค ปีนเขา ถีบจักรยาน ว่ายน้ำ ประโยชน์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ทำให้คนมีสุขภาพแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรค ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง

การเรียนรู้เนื้อหาและกิจกรรมของการประชุมในครั้งนี้ เพื่อได้นำกลับไปใช้ในการจัดทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และแผนของเครือข่าย และสามารถจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อขอทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้

การประชุมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงแผนและข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จ.ตรัง(ลานกีฬาสาธารณะ)9 กรกฎาคม 2565
9
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 9 ก.ค.65 ปรับปรุงโครงการความร่วมมือคณะปฏิรูป จ.ตรัง ล่าสุด.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงแผนและข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา เวลา 09.30 - 16.30 น.
ณ ห้องประชุมโรงแรมเรือรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

เป้าหมายการประชุม
- ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 25 โครงการ
กำหนดการ
09.30 – 09.45 น.

กล่าวรายงานและวัตถุประสงค์การประชุมเชิงปฏิบัติการฯ
โดย ผู้อำนวยการการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) จังหวัดตรัง 09.45 – 10.30 น. แลกเปลี่ยนการปรับปรุงแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 12 จังหวัดสงขลา และพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง สนส.มอ.
10.30 – 11.30 น. แบ่งกลุ่มปรับปรุงแผนและข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์
(กรอกข้อมูลผ่านกระดาษและนำมากรอกในเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/) โดย ภาคีเครือข่าย กกท. นำกระบวนการกลุ่มโดย ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง 11.30 – 12.00 น. - นำเสนอแผนและข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย ช่วงที่ 1
โดย ภาคีเครือข่าย กกท. นำกระบวนการโดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 12 จังหวัดสงขลา และพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง สนส.มอ. 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 – 15.30 น. แบ่งกลุ่มปรับปรุงข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายให้สมบูรณ์ (ต่อ) (กรอกข้อมูลผ่านกระดาษและนำมากรอกในเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/) โดย ภาคีเครือข่าย กกท. นำกระบวนการกลุ่มโดย ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง 15.30 – 16.30 น. - นำเสนอและแลกเปลี่ยนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่าย ช่วงที่ 2
โดย ภาคีเครือข่าย กกท. นำกระบวนการโดย ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 12 จังหวัดสงขลา และพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง สนส.มอ. หมายเหตุ : พักเบรกและยืดเหยียดร่างกาย เวลาประมาณ 10.30 น. และ 14.30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09.30 - 16.30 น.ณ โรงแรมเรือรัษฎา ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง นายณรงค์ โสภารัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทยจังหวัดตรัง เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาภาคึเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผนและการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่  ครั้งที่ 2 จังหวัดตรัง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมฯ จากผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 99 กองทุนจังหวัดตรัง และผู้นำการออกกำลังกายองค์กรเครือข่ายทั้ง 10 อำเภอ(85 คน)ในจังหวัดตรัง โดยมี ภ.ก.สมชาย ละอองพันธ์ จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 12 จังหวัดสงขลา และพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง สถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.มอ.) เป็นวิทยากรนำเสนอข้อมูลแนวทางการขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศ ด้านที่ 13 ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการพัฒนาลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะ

ตรังเมืองกีฬา  TRANG SPORTS CITY

ประชุม zoom สรุปข้อมูล PA กับพี่เลี้ยง 4 เขต5 กรกฎาคม 2565
5
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปผลการยกระดับการดำเนินงาน PA เขต 12_ 6_7_65.pdf
  • สรุปผลการยกระดับการดำเนินงาน PA เขต 10_ 5_7_65.pdf
  • สรุปผลการยกระดับการดำเนินงาน PA เขต 4_ 5_7_65.pdf
  • สรุปผลการยกระดับการดำเนินงาน PA เขต 1_ 6_7_65.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ผ่าน zoom ออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029104 วันที่ 5-6 กรกฎาคม 2565
- สรุป กลไกและวิธีการสำคัญในการดำเนินงานของพี่เลี้ยงขับเคลื่อนโครงการการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตัวอย่าง สรุปกลไก
โดย ทีมพี่เลี้ยงและ สนส.ม.อ.
สรุป
- จำนวนแผน, จำนวนโครงการ (เช็คจำนวนโครงการและคนทั้งหมดที่เข้ามาอบรม), จำนวนโครงการติดตามประเมินผล (แบบประเมินคุณค่าโครงการ) และกลุ่มคนที่เป็นเป้าหมายในโครงการ
- จำนวนกองทุนสุขภาพตำบลที่คัดเลือกเป็นต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ข้อมูลสรุปภาพรวมกองทุนฯละ 1 หน้า) - ตัวอย่างแผนกองทุน และโครงการตัวอย่าง
โดย ทีมพี่เลี้ยงและ สนส.ม.อ. สรุป
- จำนวนพี่เลี้ยง, การบูรณาการพี่เลี้ยงจากกลไกในพื้นที่
- จัดทำฐานข้อมูลพี่เลี้ยง https://localfund.happynetwork.org/project/assessor - จัดทำแบบพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ
โดย ทีมพี่เลี้ยงและ สนส.ม.อ. แลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะและแนวทางการดำเนินงานในระยะต่อไป
โดย ทีมพี่เลี้ยงและ สนส.ม.อ.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อมูลแสดงตามไฟล์แนบ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผน และการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 129 มิถุนายน 2565
29
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง มอบหมาย นายกิจจา ไวชมภู ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง เป็นประธานพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาภาคึเครือข่ายให้มีทักษะการทำแผนและการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ครั้งที่ 1 จังหวัดตรัง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมฯ จากผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 99 กองทุนจังหวัดตรัง และผู้นำการออกกำลังกายองค์กรเครือข่ายทั้ง 10 อำเภอในจังหวัดตรัง โดยมีวิทยากรนำเสนอข้อมูลแนวทางการขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนปฏิรูปประเทศ ด้านที่ 13 ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการพัฒนาลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ประกอบด้วน นายอะคร้าว แสงสิทธิ์ ผู้อำนวยการกองติดตามและประเมินผล การกีฬาแห่งประเทศไทย(กกท.) นายแพทย์วีระพันธ์ ลีธนะกุล ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา (สปสช.) ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.มอ.) ผู้แทนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และนายณรงค์ โสภารัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทยจังหวัดตรัง ดำเนินการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมเตรียมเว็บกองทุนสุขภาพตำบลฯนำร่องความร่วมมือคณะปฏิรูปลานกีฬาสาธารณะ / zoom422 มิถุนายน 2565
22
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การลงโครงการในเว็บโครงการสุขภาพตำบล ลักษณะการลงแผนโครงการลงแผนงาน  ในตัวแผนชาวบ้านสามารถเขียนได้โดยไม่ต้องผ่านองค์กร สามารถเข้ามาเพื่อสร้างแผนงานได้เลย ลักษณะการใช้เว็บทั้งหมด การปรับปรุงเว็บเพื่อให้ใช้ได้ทันภายในวันที่ 29 มิถุนายน 2565

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมเตรียมเว็บกองทุนสุขภาพตำบลฯนำร่องความร่วมมือคณะปฏิรูปลานกีฬาสาธารณะ20 มิถุนายน 2565
20
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.การมีแผน เพิ่ม PA
2.การเขียนโครงการขอทุนสนับสนุน 3.ทุนสนับสนุนจากกองทุนตำบล 4.โครงการที่ทำให้ PA เพิ่ม
- เครือข่ายผู้ออกกำลังกาย (กกท.) - กองทุนตำบล
- เครือข่ายกองทุนตำบลที่เขียนโครงการ (รพ.สต./ ชมรม)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมและสัมมนาทางวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมและสาธารณะสุข ครั้งที่1 /256516 มิถุนายน 2565
16
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • แก้ไข ครั้ง 3.กำหนดการ.pdf
  • สันนิบาตรเทศบาลกับสสส.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมและสัมมนาทางวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข ครั้งที่ 1 / 2565 ในวันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย
ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ  บรรยายที่1 เรื่อง แนวทางการพัฒนาด้านสาธารณะสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลทุกระดับ บรรยายที่2 เรื่อง ผลกระทบของกฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลต่อการบริหารงานเทศบาล บรรยายที่3 เรื่อง บุหรี่ไฟฟ้า ภัยเงียบต่อสุขภาพ บรรยายที่4 เรื่อง การพัฒนาและจัดการฐานข้อมูลเมืองตามเกณฑ์ประเมิน LPA เทศบาลทุกระดับ บรรยายที่5 เรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการบริกหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในเทศบาล บรรยายที่6 เรื่อง สสส. ยุคใหม่ กับบทบาทหุ้นส่วนสร้างเสริมสุขภาพท้องถิ่น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนท้องถิ่น หุ้นส่วนการสร้างเสริมสุขภาพ กรณีศึกษา พื้นที่สุขภาวะและการเพิ่มกิจกรรมทางกาย โดยความมือของ สสส. สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ
สช. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

แนวทางความร่วมมือเพื่อให้เกิดพื้นที่สุขภาวะ 1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทำความเข้าใจกับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของเทศบาล 2. กำหนดพื้นที่เทศบาลนำร่อง 3. กำหนดประเด็นที่เป็นปัญหาของเทศบาล 4. สำรวจข้อมูล 5. ออกแบบพื้นที่และกิจกรรมโดยการมีส่วนร่วม 6. พัฒนาโครงการ โดยใช้งบประมาณท้องถิ่น กองทุน หรือสมทบทุน 7. วางระบบติดตามประเมินผล

ประชุมหารือความร่วมมือพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพนำร่องจังหวัดตรัง6 มิถุนายน 2565
6
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมหารือความร่วมมือพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ให้มีทักษะพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นำร่องจังหวัดตรัง วันจันทร์ที่ 6 มิย.ช่วงบ่าย 13.00-15.30 น. ทางzoomออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029104#success

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมประชุม 4 องค์กร
  1. ผอ.สปสช.เขต 12 และคณะทำงาน
  2. ผอ.กองติตดามประเมินผล กกท. ผอ.กกท.ตรัง และคณะทำงาน
  3. ผอ.สน.5 สสส.และคณะทำงาน สสส.
  4. สนส.ม.อ.
  • หารือความร่วมมือพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ให้มีทักษะพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
  • ให้ทางโปรแกรมเมอร์สร้างโมดูลนำร่องจังหวัดตรังและราชบุรี

  • นัดประชุม workshop ในพื้นที่

  • วันที่ 27 มิ.ย.65 ราชบุรี Workshop การทำแผน PA และโครงการลานกีฬาสาธารณะ ในกองทุนสุขภาพตำบล
  • วันที่ 29 มิ.ย.65 ตรัง ณ Workshop การทำแผน PA และโครงการลานกีฬาสาธารณะ ในกองทุนสุขภาพตำบล
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ มหกรรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพจังหวัดสงขลา " Physical Activity for Songkhla Healthy Life "2 มิถุนายน 2565
2
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.การแสดงของเครือข่ายภาคประชาชนด้านกิจกรรมทางกาย • การแสดงโนราบิก โดยกองทุนสุขภาพต้าบลเทศบาลต้าบลพะตง • เปิดวิดีทัศน์กองทุนสุขภาพต้าบลจังหวัดสงขลา และ กองทุนเทศบาลต้าบลน้ำน้อย 2.กล่าวรายงานวัตถุประสงค์กิจกรรมทางกาย
โดย ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์อาจารย์สถาบันนโยบายสาธารณะปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้อ้านวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3.ประธานกล่าวเปิดงานมหกรรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพจังหวัดสงขลา " Physical Activity for Songkhla Healthy Life " โดยนางนิธินาถ ศิริเวช รองผู้อ้านวยการส้านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เขต12 สงขลา 4.มอบประกาศเกียรติบัตรให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื นที่ จังหวัดสงขลา โดยนางนิธินาถ ศิริเวช รองผู้อ้านวยการส้านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต12 สงขลา
และดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์อาจารย์สถาบันนโยบายสาธารณะปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้อ้านวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5.การแสดงกิจกรรมทางกาย เพลงเรือแหลมโพธิ์ อบต.แม่ทอม กิจกรรมทางกายร่วมสมัย กิจกรรมเสวนาขับเคลื่อน PA สู่สงขลาเมืองน่าอยู่ • การขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายผ่านกลไกกองทุนสุขภาพตำบล โดย ส้านักงานหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
• การสร้างนโยบายการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายกเทศมนตรีเมืองคลองแห • การขับเคลื่อน พชอ.การบูรณาการร่วมของกิจกรรมทางกายชาวบางกล่้า โดยนางสกุลศิริ ศิริสงคราม ผู้อ้านวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทต.ท่าช้าง • การแสดงของน้ำน้อย (โนราบิก) เทศบาลต้าบลน้ำน้อย 6.เสวนาภาคสนาม “กองทุนฯ ต้นแบบ PA”รวมพล PA เครือข่ายกิจกรรมทางกาย สู่ เมืองสงขลาน่าอยู่ • PA 3 วัย เมืองคลองแห โดยสมาคมพุทธ • PAวัยใส การเคลื่อนไหวทางกายฉบับเด็กนักเรียน
โดยอาจารย์อะหมัด หลีขาหรี รองผู้อ้านวยการโรงเรียนสมบูรณ์ศาสน์
• อถล.ร้อยรัก กิจกรรมทางกายปันสุข
โดยเครือข่ายภาคประชาชนด้านกิจกรรมทางกาย ต้าบลน้ำน้อย • เส้นทางกิจกรรมทางกาย คาบสมุทรสทิงพระ ด้วยวิถี โหนด นา เล โดยเครือข่ายภาคประชาชนด้านกิจกรรมทางกาย คาบสมุทรสทิงพระ • กิจกรรมทางกาย พชอ.บางกล่้า 7.กล่าวปิดมหกรรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพจังหวัดสงขลา " Physical Activity for Songkhla Healthy Life " โดยนายโชค กิจฉาโณ นายกเทศมนตรีต้าบลน้ำน้อย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ขับเคลื่อนมติ 3 การออกแบบการใช้พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายฯ31 พฤษภาคม 2565
31
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ชุมชนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพ-สช อ.พงค์เทพ.pdf
  • สรุปประชุม มติ PA_ 31 พค.65 (พี่ฝน สช.).docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2560 การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.00 – 16.00 น.
ห้องประชุมสานใจ 1/2 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ ภายในกระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี

วัตถุประสงค์ : ผู้เข้าร่วมประชุมฯ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะในประเด็น 1. การออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กสำหรับหน่วยงานท้องถิ่น 2. ข้อเสนอแนะและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ มติ 3 การวางหลักเกณฑ์การออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กสำหรับหน่วยงานท้องถิ่น และให้มีมาตรการหรือข้อตกลงในการใช้พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย

13.00 – 13.15 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม ผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 13.15 – 13.30 น. ทบทวนการดำเนินงาน การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 13.30 – 14.00 น. นำเสนอ (ร่าง) คู่มือการออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กสำหรับหน่วยงานท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยบูรณการภาพพื้นที่และสังคม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 14.00 -16.00 น. ให้ความเห็นต่อ (ร่าง) คู่มือการออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กสำหรับหน่วยงานท้องถิ่น และกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ มติ 3 การวางหลักเกณฑ์การออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กสำหรับหน่วยงานท้องถิ่น และให้มีมาตรการหรือข้อตกลงในการใช้พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประเด็น มติ PA
1. เป็นแนวทางจุดประกายให้ท้องถิ่นเห็นคุณค่า ความจำเป็นการมี PA ในท้องถิ่น แต่ถ้าให้แบบนี้ เขาจะคิดว่าจะนำงบประมาณไหนมาสร้าง ต้องสร้างการมีส่วนร่วมจากประชาชนความต้องการตรงกัน ปัญหาตรงกันเชิงกายภาพ จะทำให้มีประสิทธิภาพและต้องการใช้งานจริงๆ ทุก อปท จะมีกองช่าง คนที่มีความรอบรู้ในการประยุกต์ใช้
2. กระบวนการมีส่วนร่วม การออกแบบโดยใช้ทุนในชุมชน ทุนพื้นที่ ทุนวัฒนธรรม มีแต่บทเรียนแต่ไม่มีข้อสรุปหรือแนวทาง อาจต้องมีแนวทางสรุปมาจะทำอย่างไรให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมให้มาทำงานกับท้องถิ่น และฝ่ายวิชาการมาเติมเต็มให้
3. ทำอย่างไรให้คนมีกิจกรรมทางกายมีความปลอดภัยเป็นอันดับแรก ให้มีเบอร์ฉุกเฉิน ให้มีสวนสาธารณะให้มีจุดขอความช่วยเหลือเพื่อไปจุดอนามัย ถ้ามีจุดทำให้คนปลอดภัยมากขึ้น และอำนวยความสะดวกในการเดินทาง ให้มีที่จอดรถเพื่อให้อำนวยความสะดวก
4. กลุ่มเป้าหมายที่จะใช้จริงๆคือใคร คู่มือการออกแบบให้กองช่างนำไปดำเนินการ รายละเอียด องค์ประกอบถือว่าดี คู่มือนี้มีองค์ประกอบที่ตั้งข้อสังเกตคือ กลุ่มผู้ใช้และกิจกรรมมันจะมีความสัมพันธ์กัน ควรออกแบบเป็น diagram จะเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น จะทำให้เห็นไอเดียว่าจะใช้คู่มืออย่างไร 5. ควรจัด WS กับสันนิบาต กับฝ่ายวิชาการ อาจจะใช้มุมมองหลากหลาย
6. อาจจะให้ สช สสส เป็นเจ้าภาพจัด WS ในคู่มือนี้และ implement ที่พิจิตร และปรับกันใหม่ 7. วัตถุประสงค์ของคู่มือนี้คือ ลองมาทำ sandbox เรื่องออกแบบ วิธีการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและทำ Visualization และมีวิชาชีพไปช่วยเหลือ ถ้าวางทัมเฟรมดีๆ จะเป็นช่องทางวางแผนล่วงหน้า และดู gap เวลา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย บ้านเราอยู่ในโซนร้อน ใน guildlind มัน………. 8. แรงจูงใจของการใช้พื้นที่สาธารณะ คือ ฟรี หลบร้อน โปร่ง เย็น ต้องใส่สิ่งเหล่านี้เข้าไป
9. การพัฒนาพื้นที่สาธารณะให้เห็นองค์ประกอบ การออกแบบที่ดี หัวข้อการเลือกพื้นที่ อาจจะมีไอเท็มว่าเป็นพื้นที่รัฐและเอกชนได้ และพื้นที่รกร้างหรือพื้นที่ที่มีการปรับการใช้ประโยชน์ เปิดวิธีการมองพื้นที่มากขึ้น เราจะเห็นขั้นตอนการออกแบบอาจจะให้เห็น diagram อาจจะเขียนสักบรรทัดว่าพื้นที่นี้เป็นอย่างไร ใน 4 เคสนั้นเป็นพื้นที่คนละแบบกัน กระบวนการขึ้นรูปอาจจะสรุปใน 4 เคสคร่าวๆ การหนุนเสริมผู้มีส่วนได้เสีย ส่วนท้ายพาร์ทที่ 2 ถ้ามีสรุปคีย์เวิดสั้นๆน่าจะโอเคหรือ diagram ในส่วนที่ 3
10. ถ้าเราทำ WS เพื่อให้คนมีส่วนร่วมพัฒนาคู่มือ นอกจากฝ่ายวิชาการพัฒนา อาจารย์น่าจะมี process ทำเรื่องนี้อยู่แล้ว เชิญกองช่าง อปท มาทำด้วย คู่มือนั้นอาจจะไม่ได้ใช้ประโยชน์จริงมากนัก วิธีการใช้คู่มือนี้ทำให้ตอบโจทย์ มีสรุปบทเรียน ถอดบทเรียน การสร้างแรงบันดาลใจ ยังไม่ถึงการนำไปใช้ เราคุยกันแต่คนทำงาน แต่ยังไม่ได้ทดลองทำ แต่ถ้าเราได้ทดลองเมืองที่จะทำแบบฝึกหัดด้วย ถ้าเราทำกระบวนนั้นไปด้วย ทำให้มีชีวิตมากขึ้น ถ้าคู่มือเล่มนี้เพื่อให้เกิดกิจกรรมทางกาย เราจะทำเพื่อให้พื้นที่ตรงนี้มีกิจกรรมทางกายมากขึ้น อะไรคือตัวบ่งชี้
11. จุดร่วมของการเกิดพื้นที่สาธารณะที่มีคุณภาพ มันจะมีจุดร่วม 5 จุดที่มีประสิทธิภาพคือ นโยบายที่เกิดพื้นที่สาธารณะ เกิดพื้นที่ การการเลือกพื้นที่ ตัวโปรแกรมที่ใส่เข้าไป ตัวข้อมูล และการมีส่วนร่วม มันเหมือนจะมีองค์ประกอบที่ครบ แต่บางจุดของการใส่ข้อมูล ข้อมูลบางอย่างตัวการขึ้นรุป มันซ่อนอยู่ ต้องเพิ่มการออกแบบการขึ้นรูป ตัวพื้นที่มีความแตกต่างกัน สิ่งหนึ่งที่พึงระวังคือ safety ทางลาด ทางชัน ประเด็นสำคัญคือ ภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉิน ทางริมถนนอาจจะไม่ต้องวางมาก อาจจะเข้าถึงง่าย แต่ถ้าพื้นที่กระเปาะ เราจะใส่ในคู่มืออย่างไร ให้คนนำคู่มือนี้ไปใช้ให้พึงระวังความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น 12. เพิ่มเติมในคู่มือการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และทำให้เป็นสาขาที่เข้าใจง่าย กระบวนการขึ้นรูปเกิดจากผู้มีส่วนร่วมมีการพูดคุยกันแล้ว กระบวนการให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องพร้อมที่จะ subsidies งบประมาณ จากคนในพื้นที่อย่างแท้จริง เพื่อช่วยคิด ช่วยสร้าง ช่วยใช้ 13. นายกเทศบาลพิจิตร ให้จัด WS เรื่องนี้ ให้ใช้ประโยชน์จะปรับปรุงอย่างไร เรื่องการเดินทางไม่ค่อยมีปัญหาการเดินทางจะค่อนข้างสะดวก รวมถึงจักรยาน โดยเฉพาะใน อปท ก็จะเดินทางสะดวก ปัญหาคือการออกแบบให้ถูกสุขลักษณะ อยากเห็นว่าข้อดีข้อเสียในการทำงานทั้ง 4 กรณีเป็นอย่างไร ท้องถิ่นมีการดำเนินการอยู่แล้ว แต่อยากได้ข้อมูลเพิ่มคือทางลาดคนพิการ ผู้สูงอายุมีขนาดเท่าไหร่ เพื่ออ้างอิงออกแบบให้ชัดเจน จะต้องใช้พื้นที่สาธารณะเท่าไหร่ มีไกด์ไลน์เพื่อให้เกิดการใช้งาน เรื่องพื้นบอกได้ไหมว่าพื้นคอนกรีตต่างอย่างไรกับพื้น….. บอกความแตกต่างของพื้นต่างๆ แต่ละพื้นที่มีความเฉพาะตัวไม่เหมือนกัน พื้นหญ้า พื้นคอนกรีต พื้นยางเหมาะกับเรื่องอะไร เพื่อให้ความรู้กับกองช่าง เทศบาล ในพื้นที่ขาดวิศวกร สถาปนิกในพื้นที่ การรับฟังความเห็นต้องผ่านแผนประชาชน เขาตื่นตัวเรื่องนี้จะทำพื้นที่สาธารณะใกล้บ้านใกล้ใจ และยังไม่เห็นเรื่องความปลอดภัยในการออกแบบพื้นที่สาธารณะเช่นติดกล้องวงจรปิด เสียงตามสายต้องเป็น co working space ให้ได้ เป็นข้อจำกัดการทำงานของท้องถิ่น มี wifi มีหอกระจายข่าว เราทำการเช่ากับองค์การโทรศัพท์ ระเบียบไม่ค่อยเปิดโอกาสเท่าไหร่ 14. ถ้าจะมี ws มาคุยว่าการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในท้องถิ่นเพื่อเอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีต่อชุมชน จะเป็นไปได้ไหม WS เป็นแบบไหนก็ได้ การดำเนินการเจ้าภาพ 3 หน่วยงาน ทาง สสส และ สช อาจจะลงขันกัน ทางสันนิบาติเทศบาลมีหนังสือออกไปขอความร่วมมือ จัดกันประมาณ 1 วันครึ่ง ทางสันนิบาติจะเชิญนาบกเมืองต่างๆมารับฟังความเห็น ในคุยในเบื้องต้นกับสมาชิกเครือข่าย ประมาณ 100 ที่ ถ้า สสส เองจะทำเรื่องนี้ จะขายแล้วจะมีพื้นที่ไหนสนใจบ้าง กลุ่มเป้าหมายเฉพาะจะเกิดผลมากกว่าหว่านไปทั่ว 15. จะเริ่มจับมือกับสันนิบาตเทศบาลก่อนในระบบสุขภาพ และจะเคลื่อนกันต่ออย่างไร และถ้าจัด WS แล้วจะทำอย่างไรต่อไป
16. เดือนหน้าจะมีประชุมกรรมมาธิการสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม ให้ทาง สสส สช มาขายของก่อนจะเป็นไปได้ไหม ให้ทาง สช สสส ช่วง 15-16มิย ในวันประชุม ให้ทาง สช มาคุยก่อน
17. เรื่องคู่มือนี้เป็นไปเพื่อการสร้างพื้นที่สาธารณะที่ดี ไม่อยากเน้นเรื่องการสร้างในเชิงช่างเป็นแค่หนึ่งองค์ประกอบ ถ้าจะบอกว่าพื้นที่มี 3 ส่วนใหญ่คือ การขึ้นรุป การอิมพรีเม้น การเมนเทน ไม่อยากเกิดเหตุการณ์ที่ส่งเสริมการสร้างเพียงอย่างเดียว การแก้ปัญหาคือ การบอกว่าเทรนด์พื้นที่สาะรณะที่ดีคืออะไร พื้นที่สุขภาวะที่ดีคืออะไร ต้องตั้งเกณฑ์นี้ให้ชัด กระบวนการขึ้นรูปตอนที่เป็น how to มันมีหลายแทร็ค เช่น แทร็คภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน การออกแบบคือประเมินศักยภาพพื้นที่ หรือประเมินผู้มีส่วนได้เสีย ประเมินผู้ใช้สำคัญมาก ก่อนจะสรุปว่าจะทำพื้นที่สาธารณะเพื่ออะไร ถ้ามีการสรุปแบบไม่ดีไม่ได้มาจากประชาชน จะได้ผลออกมาไม่ดี
18. น่าจะทำการสำรวจตัวอย่างสวนสาธารณะที่ดีจำนวนหนึ่ง ทั้งประเทศมีการออกแบบลานกีฬา ลานวัด เป็นที่คนมาชุมนุมกัน นำข้อมูลตั้งต้นวันนี้ไปพบกับสันนิบาตเทศบาล อาจพบว่าพื้นที่บางที่มีคุณค่าโดยไม่ต้องใช้เงินเลย แต่ละท้องถิ่นต้องมีการสำรวจพื้นที่สาธารณะ ท้องถิ่นน่าจะศึกษาสำรวจพื้นที่ไปทำให้เกิดความปลอดภัย ให้เป็นที่รู้จัก และมีการเฝ้าระวัง 19. อาศรมศิลทำคู่มือไว้แล้ว เป็นองค์ประกอบกัน อาจจะเริ่มคุยกับเทศบาล คิดว่าหลายเทศบาลสนใจ 20. ใน กทม มี pain point เรื่องภาษีที่ดิน ว่าจะทำอย่างไรต่อ อยากให้จัดฝึกอบรมและจัดฝึกอบรมคู่มือกับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
21. ในคู่มือ ผู้เล่นจะไม่ชัดมาก ในคลองผดุงทำมา 7 ปีมีกระบวนการต่อรองกับภาครัฐ น่าจะมี toolkit สำหรับภาคประชาชน น่าจะมีวิธีเขียนคำร้อง ทำแบบฝึกหัดขึ้นมาและไป convince ภาครัฐ ในกระบวนการนี้ต้องมีการทำผ่านภาคประชาชน ใส่กระบวนการอะไรลงไป ถ้ามีพื้นที่รกร้าง น่าจะช่วยภาครัฐได้ในการทำงานพื้นที่ย่อยๆ ภาคประชาสังคมช่วยได้เยอะถ้าทำแผนดีๆ
22. ให้เพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วม เพราะส่วนนี้มีน้อยไป เห็นกระบวนการตัดสินใจ เพื่อช่วยเทศบาลว่าความต้องการตรงนั้นมีอะไรบ้าง จะตอบสนองแต่ละกลุ่มอย่างไร

ประชุมอัพเดทความก้าวหน้างานPA ภูเก็ต ครั้งที่ 231 พฤษภาคม 2565
31
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

อ.พงค์เทพ คุยอัพเดทความก้าวหน้างานPA ภูเก็ต ครั้งที่ 2 กับ ทีมมอ.ภูเก็ต (คุณอ๊อด), ทีมแพทย์แผนไทย(อ.ฝนและอ.ปิง), สถาปนิค คุณณัฐวิช / ใช้ zoom 4

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุม big data pa สสส.31 พฤษภาคม 2565
31
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมทีมสื่อเตรียมเวทีสาธารณะ(งาน 2 มิย.)30 พฤษภาคม 2565
30
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมหารือความร่วมมือพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ให้มีทักษะพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่30 พฤษภาคม 2565
30
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม ลานกีฬาสาธารณะ PA_ 30 พค.65.docx
  • กำหนดการลานกีฬาสาธารณะ PA_ 30 พค.65.docx
  • ปฎิรูปลานกีฬา อ.พงค์เทพ.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมหารือความร่วมมือพัฒนาศักยภาพพื้นที่นำร่องของลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ ให้มีทักษะพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ณ สปสชงเขต 5 จ.ราชบุรี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

งานนี้จากคณะปฏิรูป 1. สนับสนุนลานกีฬาเพิ่มขึ้น 2. ให้คนเพิ่มการออกกำลังกาย เล่นกีฬาเพิ่มขึ้น ทางส่วนกลางตั้งกรรมการ ประสานหน่วยงานต่างๆ ทาง สนส. สสส.ช่วยพัฒนาศักยภาพ

สรุปคุยกันเบื้องต้นเลือกราชบุรี ตรัง
1.ตั้งกรรมการ 2. สำรวจข้อมูล PA 3. ออกแบบสนามกีฬา สวนสาธารณะ เพิ่มการออก 4. ประสานหน่วยงานต่างๆ ผุ้สุงอายุ ผุ้ป่วย ncd มาพัฒนาทำแผนโครงการ

กกท.ส่วนกลาง 1. มองราชบุรี มีศักยภาพคนในท้องถิ่นออกกำลังกายเยอะ มีชมรมเยอะ ถูกมอบหมายลานกีฬาเกิดขึ้นที่นี้
2. บทบาท กกท.ของบเองไม่ได้ / ไปชวนคนชมรมต่างๆ มาของบ 3. ตัวแทน กกท สสส สปสช.เป็นพี่เลี้ยงเทรนการเขียนโครงการ 4. ติดตามประเมินผล 5. บทบาท กกท.เป็นหน่วยงานกลางติดตามประเมิน และถอบทเรียนเป็นตัวชี้วัดได้

อ.พงค์เทพ 1. ชมรมต่างๆ เห็นแล้วว่ามีแหล่งเงิน
2. เช่น ชมรมวิ่ง ถ้าจัดเรื่องวิ่งขอ สสส. / สสส.จ่ายชมรมวิ่ง 2,000 บาท
- ท้องถิ่นเล้ก สสส.สนับสนุน 10,000- 20,000
- วิ่งจอมบึงมาราธอน สสส.สนับสนุน
- ให้เขาคิดว่าถ้าชมรมเขาเติบโตยั่งยืน คืดว่าจะทำแผนอย่างไร

ผอ.สปสช. - ความเข้าใจตรงกัน คนที่กดปุ่ม คือ ผู้ว่า

อ.พงคืเทพ เตรียมงบประมาณไว้ 1. สำรวจข้อมูล PA
2. วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย / ควรจะมีพื้นที่ที่ไหนบ้าง
ยกตัวอย่าง ผู้สูงอายุมีมากไหม เช่น ผู้สูงอายุมี pa 500 คน ไม่เพียงพอ 400 คน จะดึงมาทำกิจกรรมอย่างไร
ผู้ป่วย ncds มาทำกิจกรรม
กกท.มีสนามกีฬา เต้นแอโรบิค ผุ้ป่วย ncd มีโปรเจีกพิเศษ มาตรวจสุขภาพ มาเช็คออกกำลังกาย กลุ่มเด็กเยาวชน กลุ่มแม่บ้าน มีภาวะเนือยนิ่ง - อาจจะเริ่มกลุ่มเทรนนิ่ง มาต่อยอด เขาจะช่วยดึงมาสร้างเสริมสุขภาพอย่างไรบ้าง
- ค้นหาผุ้ป่วย ncds การเต้นแอโรบิก

ผอ.กกท.ราชบุรี
1. แกงหัวมุม
2. แกงค์รถรันนิ่ง
- เราสามารถชวนกลุ่มนี้ได้ แล้วไปชวนคนอื่นๆ มาเพิ่ม
- การเขียนปฏิบัติโครงการ
- สนามกีฬาราชบุรี มีบรืการฟรี เช่น ชมรมแอโรบิค ได้งบน้อย / ช่วยค่าไฟ กกท.
- กกท.เป็นรัฐวิสาหกิจ มีรายได้

ผอ.สปสช. ขั้นตอนที่วางไว้ 1-4

อ.พงค์เทพ
1. ฝากท่าน ผอ. คุยกับ กกท. ว่าตั้งกรรมการแล้วยัง แล้วไปคุยกับผุ้ว่า ถ้ายังไม่ตั้งเราเริ่มเรื่องของเรา 1 เริ่ม workshop ก่อน ชวนคนมาเขียนแผนโครงการ
3. เอาผู้ป่วย ncd มาใช้ลานกีฬาสาธารณะยังไง

พี่เลี้ยง:
กระทรวงสาธารณสุข: มี อสม.เข้ามาช่วยได้
- ราชบุรี ทาง สนส.เข้ามาช่วย - ทาง ผอ.สปสช.อยากให้ช่วยสนับสนุน กองทุนสนับสนุนกิจกรรม -
ผอ.กกท.ราชบุรี / ตอนนี้งานเราคอนข้างเยอะ
1. เชิญทาง สปสช.ไปคุยกัน คนที่มา 10 กลุ่ม
2. จัดกลุ่มเทรนวางแผน ปี 65
3. วางแผนดึงคนออกแบบ 4. เราทำภาพให้ชัด เรามาปฏิบัติจริงๆกันให้ชัด
5. ตอนนี้ทาง กกท.จะเดินไปคุย
6. ทาง สนส.และทีม สปสช.ไปเป็นพี่เลี้ยง
7. อาทิตย์ ไปรองสนาม ไปวิ่งราว

ในแต่ละแกนต้องหาแกน ที่มาทำเรื่องเอกสารการเงิน รายงานได้
อ.พงค์เทพ
เรื่องเทรน
1. ก่อนเทรนนิ่ง สิ่งที่เราต้องการคืออะไร
2. สิ่งที่ต้องการ ชวนกลุ่มต่างๆ มาคุยกันก่อน

อ.พงค์เทพ
1. ให้น้องคุยกับคุณอะคร้าว
2. ให้นัดคุยทาง zoom กันก่อน ชวนกลุ่มต่างๆ เข้ามาทำความเข้าใจเรื่องการจัดทำโครงการ 3. จัด workshop เทรนการเขียนโครงการขอทุน สปสช.โดยมีกิจกรรมและใช้ลานกีฬาของ กกท.

กกท กลางสรุแ 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนลานกีฬา ระดับจัหวัดมีแล้วยัง 2. กลไกการขับเคลื่อน จะทำกลุ่มเล้ก หรือกลุ่มใหญ่ 3. เราจะขับเคลื่อนอย่างไร เบื้องต้น กกท.ประชาสัมพันธ์กลุ่มต่างๆ ผอ.กกท ราชบุรี ใกล้ชิดกับล่มต่างๆ ดึงเขามารับฟัง
4. พูดคุยแบบเต็มรุปแบบทำโครงการ /
5. เชิญ อ.พงคืเทพ มาสอนเทรนนิ่งการเขียนโครงการ

อ.พงค์เทพ ถ้าคณะกรรมการ จังหวัด
- เชิญกองทุน 100 กว่าแห่ง มาช่วยสนับสนุนการขอทุนการออกกำลังกาย
- เอามาเขียนโครงการ
-
อ.พงค์เทพ / ผอ.สปสช.เขต 5
1. กลุ่มเป้าหมาย เทรนเจ้าหน้าที่ของ อบต.ทำแผน PA
2. ชักชวนคนเขียนโครงการ มาเขียนโครงการ
3. สปสช.โคชชิ่งทีม กลไก ไฟเขียว
4. ทาง สนส.เทรนนิ่งให้
1. ผู้ว่าออกหนังสือให้ส่งคนเข้ามาเทรนนิ่ง
2. เทรนนิ่งที่โรงแรม / หรือหอประชุมเทศบาลหรือ อบจ. / ค่าใช้จ่าย ค่าอาหาร ทาง สสส.ออกให้
หนังสือเชิญให้ทางผู้ว่าออกหนังสือเชิญ - อาจารย์พงค์เทพ ช่วยงบ 100,000 บาท

ผอ.สปสช.

สรุป 1. การประสานจะรบกวนทาง สปสช.กับท่านผู้ว่าออกหนังสือ 2. งบประมาณให้ กกท. ให้ทำเป็นโครงการตัวอย่าง กกท.ของจังหวัด และท้องถิ่น / ถ้ากิจกรรมมีการตรวจสุขภาพมีการใช้การออกกำลังกายในสนามกีฬา เขียนแบบนี้ ตอนนี้เรามีโครงการคลินิก

  • การสะสมไมค์วิ่ง จะสามารถความดัน


    กิจกรรมความร่วมมือ 1 สำรวจสถานการณ์ PA โดยเฉพาะการออกกำลังกาย 2 ออกแบบพื้นที่เชิงกายภาพ : สนามกีฬา พื้นที่สาธารณะ 3 ออกแบบกิจกรรมที่เหมาะกับพื้นที่และกลุ่มวัย เพื่อการเพิ่ม PAโดยเฉพาะการออกกำลังกาย 4 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย เพื่อการพัฒนาศักยภาพและจัดทำแผน โครงการเพื่อการเพิ่ม PAโดยเฉพาะการออกกำลังกาย 5 ประสานความร่วมมือเพื่อการสนับสนุนงบประมาณให้แก่แผนงาน โครงการในพื้นที่  จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และ แหล่งทุนอื่น 6 การติดตามและประเมินผลสำเร็จในการเพิ่มPAที่เพียงพอโดยเฉพาะการเพิ่มการออกกำลังกายของประชาชน
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนันสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี27 พฤษภาคม 2565
27
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

บันทึกข้อตกลงจัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2565 โดยมี สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 21 แห่ง เขตอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมเวทีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย
- กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 21 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 14 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 19 แห่ง

ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้

  1. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ร่วมกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและตัวชี้วัดเพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กรร่วมสนับสนุนและดำเนินงานขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานที่หรือระบบต่างๆ เช่น ระบบการศึกษา การทำงาน ชุมชน ผังเมือง คมนาคม การกีฬา และนันทนาการ สวนสาธารณะ สถานบริการสาธารณสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น
  2. สำนักงานสาธารณะสุขอำเภอและหน่วยงาน องค์กรสาธารณะสุข ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลวิชาการ การจัดทำแผนงานและการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย รวมถึงการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน เช่น สถานบริการสาธารณะสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น
  3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในประชาชนกลุ่มต่างๆ ทุกช่วงวัยอย่างทั่วถึง ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนด้วยการทำประชาคม หรือการให้ประชาชนได้จัดการโครงการเพื่อของบประมาณ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางในการระดมทรัพยากรของภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ เกิดความยั่งยืนและพึงพิงตนเองได้
  4. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญการทำกิจกรรมทางกาย และมีส่วนร่วมสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น หรือแหล่งทุนอื่นๆ เพื่อดำเนินการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมทางกายอย่างทั่วถึงทุกกลุ่มวัย เช่น เด็กเล็ก เด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร รวมถึงองค์กรส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมมีบทบาทในการบริหารจัดการกองทุนเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ โดยสนับสนุนองค์กรหรือกลุ่มประชาชนร่วมดำเนินกิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขในท้องถิ่น สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนันสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย อำเภอเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร26 พฤษภาคม 2565
26
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

บันทึกข้อตกลงจัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2565 โดยมี สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 21 แห่ง เขตอำเภออำเภอเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมเวทีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย
- กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 21 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 14 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 19 แห่ง ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ร่วมกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและตัวชี้วัดเพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กรร่วมสนับสนุนและดำเนินงานขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานที่หรือระบบต่างๆ เช่น ระบบการศึกษา การทำงาน ชุมชน ผังเมือง คมนาคม การกีฬา และนันทนาการ สวนสาธารณะ สถานบริการสาธารณสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น 2. สำนักงานสาธารณะสุขอำเภอและหน่วยงาน องค์กรสาธารณะสุข ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลวิชาการ การจัดทำแผนงานและการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย รวมถึงการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน เช่น สถานบริการสาธารณะสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในประชาชนกลุ่มต่างๆ ทุกช่วงวัยอย่างทั่วถึง ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนด้วยการทำประชาคม หรือการให้ประชาชนได้จัดการโครงการเพื่อของบประมาณ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางในการระดมทรัพยากรของภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ เกิดความยั่งยืนและพึงพิงตนเองได้ 4. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญการทำกิจกรรมทางกาย และมีส่วนร่วมสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น หรือแหล่งทุนอื่นๆ เพื่อดำเนินการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมทางกายอย่างทั่วถึงทุกกลุ่มวัย เช่น เด็กเล็ก เด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร รวมถึงองค์กรส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมมีบทบาทในการบริหารจัดการกองทุนเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ โดยสนับสนุนองค์กรหรือกลุ่มประชาชนร่วมดำเนินกิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขในท้องถิ่น สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ25 พฤษภาคม 2565
25
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนันสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ บันทึกข้อตกลงจัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 โดยมี สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 21 แห่ง เขตอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมเวทีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ร่วมสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจทางกาย
- กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 21 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 14 แห่ง - กองทุนสุขภาพตำบลฯ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 19 แห่ง ได้ให้การสนับสนุนและร่วมดำเนินการขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่หมายถึง การขับเคลื่อนให้ร่างกายทั้งหมดชีวิตประจำวันในอิรียาบถต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลังงาน โดยกล้ามเนื้ออันคลอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ โดยมีแนวโน้มทางการดำเนินงานและข้อตกลงร่วมกัน ดังนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ร่วมกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและตัวชี้วัดเพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กรร่วมสนับสนุนและดำเนินงานขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานที่หรือระบบต่างๆ เช่น ระบบการศึกษา การทำงาน ชุมชน ผังเมือง คมนาคม การกีฬา และนันทนาการ สวนสาธารณะ สถานบริการสาธารณสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น 2. สำนักงานสาธารณะสุขอำเภอและหน่วยงาน องค์กรสาธารณะสุข ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลวิชาการ การจัดทำแผนงานและการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย รวมถึงการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน เช่น สถานบริการสาธารณะสุขหรือระบบสุขภาพ เป็นต้น 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุนและขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในประชาชนกลุ่มต่างๆ ทุกช่วงวัยอย่างทั่วถึง ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนด้วยการทำประชาคม หรือการให้ประชาชนได้จัดการโครงการเพื่อของบประมาณ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางในการระดมทรัพยากรของภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ เกิดความยั่งยืนและพึงพิงตนเองได้ 4. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญการทำกิจกรรมทางกาย และมีส่วนร่วมสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น หรือแหล่งทุนอื่นๆ เพื่อดำเนินการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมทางกายอย่างทั่วถึงทุกกลุ่มวัย เช่น เด็กเล็ก เด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร รวมถึงองค์กรส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมมีบทบาทในการบริหารจัดการกองทุนเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ โดยสนับสนุนองค์กรหรือกลุ่มประชาชนร่วมดำเนินกิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขในท้องถิ่น สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมมหกรรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพจังหวัดสงขลา " Physical Activity for Songkhla Healthy Life"21 พฤษภาคม 2565
21
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • กำหนดการปรับแก้22-5-65.doc
  • กำหนดการทีม.doc
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมพิจารณาร่างคู่มือการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในท้องถิ่น18 พฤษภาคม 2565
18
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมพิจารณาร่างคู่มือการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในท้องถิ่น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ (ร่าง 2) คู่มือแนะนำแนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะขนาดเล็กในท้องถิ่น (A Booklet for The Small Public Space Design)

ประชุมโครงการ big data สสส.กับฐานข้อมูลกองทุนสุขภาพตำบลฯ8 พฤษภาคม 2565
8
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมแผนการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมให้ข้อมูล big data pa3 พฤษภาคม 2565
3
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยง29 เมษายน 2565
29
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

วันที่ 27 เมษายน 2565 ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์27 เมษายน 2565
27
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 27 เมษายน 2565 ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ได้นำเสนอผลความร่วมมือของคณะปฏิรูปฯ ด้านการพัฒนาลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ สสส. กกท. และสนส.มอ. ในการขับเคลื่อน 1. การพัฒนาลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ และการส่งเสริมการเล่นกีฬาในส่วนภูมิภาค
2. การเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชน กรณีนำร่อง : จังหวัดตรัง และ จังหวัดราชบุรี กิจกรรมความร่วมมือ 1. สำรวจสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกาย (PA) โดยเฉพาะการออกกำลังกาย 2. ออกแบบพื้นที่เชิงกายภาพ : สนามกีฬา พื้นที่สาธารณะ 3. ออกแบบกิจกรรมที่เหมาะกับพื้นที่และกลุ่มวัย เพื่อการเพิ่ม PA โดยเฉพาะการออกกำลังกาย 4. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย เพื่อการพัฒนาศักยภาพและจัดทำแผน โครงการเพื่อการเพิ่ม PA โดยเฉพาะการออกกำลังกาย 5. ประสานความร่วมมือเพื่อการสนับสนุนงบประมาณให้แก่แผนงาน โครงการในพื้นที่จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และ แหล่งทุนอื่น 6. การติดตามและประเมินผลสำเร็จในการเพิ่ม PA ที่เพียงพอโดยเฉพาะการเพิ่มการออกกำลังกายของประชาชน

ประชุมการจัดทำข้อมูล big data pa ประชุมผ่านระบบ zoom21 เมษายน 2565
21
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 1AAA สรุปประชุม 21.4.65.pdf
  • 1AAA สรุปประชุม 21.4.65.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันที่ 21 เม.ย. 65 เวลา 9.00 - 10.20 น.
ทาง อ.พงค์เทพ และ อ.กุลทัต ประชุมการจัดทำข้อมูล big data pa กับ สน.5 สสส. ประชุมผ่านระบบ zoom

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุม
1. สน.5 สสส. 2. ผู้ทรงคุณวุฒิ สน.5 สสส.
3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น TPAK ม.มหิดล, กองส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กรมอนามัย, สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ., Healthy space Forum ม.จุฬาฯ , กลุ่มแผนงานเดินวิ่ง , กลุ่มแผนงาน NCDs 4. ผู้รับผิดชอบโครงการ : คุณวรรณ กับคุณกี้

วัตถุประสงค์ของการจัดทำ big data PA
1. ศึกษาแนวทางการและพัฒนาการใช้ประโยชน์ของข้อมูลกิจกรรมทางกายของประชากร และสอดคล้องกับยุทธ์ 10 ปี สสส. สน.5 2. ออกแบบแพลตฟอร์มการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) เพื่อใช้ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การใช้ประโยชน์จากข้อมูล 3. จัดทำแพลตฟอร์มต้นแบบ ออกรายงานวิเคราะห์ Use Case เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจการวางแผนนโยบาย
4. พัฒนาบุคลากรในดำเนินงานด้านการวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพ

Time line การทำงาน

  • A เดือน พ.ค.65 สัมภาษณ์แลกเปลี่ยนข้อมูลจากภาคีเครือข่าย
  • B เดือน ธ.ค.65 ระบบข้อมูลเสร็จพร้อมใช้งาน
  • C เดือน ม.ค.65 อบรมผู้ใช้งาน

ผลการนำข้อมูลเอาไปใช้ต่อ 1. สสส. : สนับสนุนข้อมูลสามารถวิเคราะห์วางแผนเชิงนโยบายได้ / สามารถติดตามผลข้อมูลได้
2. ภาคี สสส. : สามารถออกแบบนโยบายเพิ่มเติมได้ / ข้อมูลรายงานสามารถเอาไปใช้ประโยชน์ได้
3. ประชาชน : ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง

ติดตามรายชื่อกองทุนต้นแบบ pa จำนวน 120 แห่ง18 เมษายน 2565
18
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ติดตามรายชื่อกองทุนต้นแบบ pa จำนวน 120 แห่ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รวบรวมกองทุนต้นแบบศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (PA)
จำนวน ดังนี้
เขต 1 จำนวน 30 กองทุน
เขต 4 จำนวน 4 กองทุน เขต 10 จำนวน 30 กองทุน
เขต 12 จำนวน 56 กองทุน

ประชุมติดตามความก้าวหน้าสถาปนิกขับเคลื่อน อปท.14 เมษายน 2565
14
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 14 เมย.65 สถาปิกเคลื่อน อปท.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วัน พฤหัสบดี 14 เมษายน 2565 เวลา 20:00 - 21:30 น.ประชุมติดตามความก้าวหน้าสถาปนิกขับเคลื่อน อปท.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วัน พฤหัสบดี 14 เมษายน 2565 เวลา 20:00 - 21:30 น. ประชุมผ่านระบบออนไลน์
คณะทำงานได้ออกแบบคู่มือการออกแบบการใช้พื้นที่สาธารณะในท้องถิ่น (40 หน้า) การออกแบบเน้นการกระตุ้นใช้พื้นที่มากขึ้น / ขอบเขตกิจกรรม / กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ / แผนการดำเนินงาน action plan การขึ้นรูปขององค์ประกอบที่ขึ้น โดยใช้เครื่องมือ วิธีการ กลไกที่เข้าไปกระตุ้น บทที่ 2 เน้นให้ดูว่ารูปธรรม สามารถเอารูปแบบไปทำกับพื้นที่ตัวเองได้ ผลสุดท้ายคือ ท้องถิ่น คนในพื้นที่เอาไปใช้ในพื้นที่ บทที่ 3 ได้ถอบบทเรียนจากต่างประเทศ รายละเอียด ดังนี้

  • Part 1 หลักการออกแบบและสร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะขนาดเล้ก
    1) การเลือกพื้นที่ (Site selection) 2) ลักษณะของพื้นที่สาธารณะ (Modalities) 3) การกำหนดการโปรแกรม (Programming) 4) การระบุกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ (Personas) 5) องค์ประกอบที่พึงมี (Features)
  • Part 2 กรณีศึกษาพื้นที่สาธารณะขนาดเล็ก
  • Part 3 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้และแบบฝึกหัด

แนวทางดำเนินการต่อ
- วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 13:30 - 16:00 น. คุยงานสถาปนิกpaของ อ.มาร์ค (ดูร่างคู่มือฯ) เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ความเห็นผ่านระบบ zoom4 - วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 13:00 - 16:00 น. จัดเวทีงานสถาปนิก pa เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายฯ จัดที่ สช.กรุงเทพ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่7 เมษายน 2565
7
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ
และยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
วันที่ 7,8,9 เมษายน 2565 เวลา 08.30-16.30 น.
ณ อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน 2565
เวลา กิจกรรม/เนื้อหา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 น. ชี้แจ้งวัตถุประสงค์ของการประชุม และวัตถุประสงค์ของโครงการ โดย... ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
  รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
09.15 – 10.00 น. นำเสนอผล การจัดทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ใน เขต 1
โดย ทีมพี่เลี้ยง ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และทีมถ่ายทำวิดีโอ 10.00 – 11.00 น. นำเสนอผล โครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ใน เขต 1
โดย ทีมพี่เลี้ยง ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และทีมถ่ายทำวิดีโอ 11.00 – 12.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบลตัวอย่าง อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดย ทีมพื้นที่บ้านเหล่า
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 16.30 น. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวอย่างกิจกรรมโครงการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดย ทีมพื้นที่บ้านเหล่า ทีมพี่เลี้ยง ทีมถ่ายทำวิดีโอ วันศุกร์ที่ 8 เมษายน 2565
09.00 – 12.00 น. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวอย่างกิจกรรมโครงการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดย ทีมพื้นที่บ้านเหล่า และทีมพี่เลี้ยง ทีมถ่ายทำวิดีโอ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 16.30 น. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวอย่างกิจกรรมโครงการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดย ทีมพื้นที่บ้านเหล่า และทีมพี่เลี้ยง ทีมถ่ายทำวิดีโอ วันเสาร์ที่ 9 เมษายน 2565
09.00 - 15.00 น. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวอย่างกิจกรรมโครงการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดย ทีมพื้นที่บ้านเหล่า และทีมพี่เลี้ยง ทีมถ่ายทำวิดีโอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สถานการณ์ปัญหาสุขภาพมีอะไรบ้าง เช่น ปัญหาผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง
  2. ปัญหาเกิดจากภาวะเนือยนิ่ง พฤติกรรมการบริโภค
  3. สิ่งที่บ้านเหล่าทำอยู่ คือ ทำอย่างไรให้คนในบ้านเหล่าได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น เช่น ผุ้สูงอายุ เด็กเยาวชนมาทำกิจกรรมปับพื้นที่สาธารณะ วัด พื้นที่ในชุมชนทำกิจกรรมทางกายขึ้นมา นำไปสู่การแก้ปัญหาเรื่องสุขภาพ แก้ปัญหาโรคเรื้อรัง แก้ปัญหาภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ แก้ปัญหาเด็กเยาวชนในพื้นที่
  4. สิ่งที่เกิดจากงาน สสส.และกองทุนสุขภาพตำบลไปหนุนเสริมการทำเรื่องเหล่านี้
  5. กลไกกองทุนสุขภาพตำบลที่หนุนเสริมทำให้เกิดเครือข่ายชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น การบูรณาการทำงานคนในชุมชน การบูรณาการคนในท้องถิ่น แล้วถูกยกระดับไประดับอำเภอ พชอ.
  6. การที่เกิดแบบนี้ได้เกิดจากผู้ก่อการดีจากทีมพี่เลี้ยงเข้าไปจัดกระบวนการกับคนในพื้นที่ ท้องถิ่นกรรมการกองทุนฯ เครือข่ายผู้ขอทุนในพื้นที่ ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชน
  7. กระบวนการเรียนรู้ที่สั่งสมมายาวนาน มีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ประชุมเตรียมงานวันที่ 7-9 เมษายน31 มีนาคม 2565
31
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเตรียมงานวันที่  7-9 เมษายน โดยการประชุมผ่าน Zoom ออนไลน์ เวลา 14.00 - 1ุ6.00 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อำเภอเม่นสูงมีหลายตำบล ยกระดับโดยมีประเด็นร่วมของทุกตำบล การขับเคลื่อนคือ ประเด็นตำบลขับเคลื่อนอยู่ยกระดับเป็นประเด็นของอำเภอ
นายอำเภอปั่นจักรยาน แถบทุกวัน ภรรยาเต้นแอโรบิกกับแม่บ้าน จัดอีเว้นในอำเภอบ่อย วิ่ง ปั่นจักยาน
แต่ล่ะตำบลเกิดกระบวนการธรรมนูญของพื้นที่ทำงานร่วมกับหลักประกัน เป็นกลไกการทำงานระดับตำบล ช่วงหลังมีพชเข้ามาทำให้เข้มแข็งมากขึ้น โดยมีนโยบายนำไปสู่แนวทางปฏิบัติ
มีแผนสุขภาพของตำบล และมีการนำเสนอใน 5 กลุ่มวัย ตามสถานการณ์ในประเด็นของพื้นที่ สูงวัย วัยทำงาน วัยเด็ก วัยเยาวชน กลุ่มข้าราชการบำนาญ โดยพื้นที่นี้มีกลุ่มราชการบำนาญเยอะ เกษียณก่อนวัย หรือวัยเกษียณ วันแรก (ผู้สูงอายุ วัยทำงาน) ช่วงเช้า-เที่ยง อยุ่ในห้อง เพื่อคุยเรื่องแผนการพัฒนา
นำแผนของพื้นที่นำมานำเสนอ จากอาจารย์ได้พัฒนาและทีมพี่เลี้ยง เยาวชน ใช้เรื่องกีฬา นันทนากร สูงอายุ กิจกรรมประจำวัน sport exercises
พิการ ติดเตียง การเคลื่อนไหว การกายภาพ ยืดหยุ่น
ไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปจนถึงโรค NCD ช่วงบ่าย เก็บสัมภาษณ์ผู้นำพื้นที่ ผู้นำกลุ่มวัยทำงาน สูงอายุ จิตอาสา และกลุ่มกิจกรรมนันทนาการ
ช่วงเย็น มีความหลากหลายวัย เยาวชนเล่นกีฬา วัยทำงานเดินวิ่ง ปั่นจักยาน รวมกลุ่มกิจกรรมทางกาย บาร์สโลป ที่จะเกิดขึ้นในตอนเย็น
กลุ่มที่ทำอาชีพเกี่ยวกับผักสวนครัว ใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมทางกายมาปลูกผัก บริโภค
และจำหน่าย วันที่สอง ศูนย์เด็กเล็ก สิ่งแวดล้อม
กิจกรรมทางกายที่มีการรวมกลุ่มตอนเย็น
ภายใต้การทำงาน มีโครงการที่มาจากกองทุนอยู่ส่วนนึง สสสส่วนนึง มาจากงบพัฒนาจังหวัดส่วนนึง ในการทำเรื่องตำบลสุขภาวะ ทางตำบลร่วมกับจังหวัด ยกระดับพื้นที่เพื่อเป็นตำบลสุขภาวะ ใช้งบกองทุน (เงินกองทุนหลักไปลงที่ โควิด รพสต) 1.หมู่ 9 ผู้สูงอายุปลูกผัก 2. line dance
3. ปั่นจักรยานไปฟังธรรมที่วัด (อยากสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่ยังปั่นจักรยานไปปวัดอยู่ คำนึงถึงความปลอดภัย) มีหลายมิติ พัฒนาต่อได้ แต่โครงการหยุดไปเพราะโควิดที่วัด
การที่ทำให้ชุมชนมีสุขภาพที่ดีควรมีชุมชนระดับท้องถิ่นร่วมมือ
กลไลกองทุนเคลื่อนอยู่ แต่ยังสามารถยกประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มากขึ้นอีก เพื่อยกระดับกองทุน ทำให้กองทุนมีศักยภาพเรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ NCD เหล้าบุหรี่ ยาเสพติด 2) สอนให้วางแผนเป็น รู้สถานการณ์ วางเป้าหมาย กำหนดโครงการ วิธีการดำเนินโครงการ
1.เครือข่ายวิชาการ พัฒนาแนวทาง/คู่มือ/webเพื่อการเรียนรู้
2. สร้างเครือข่ายพี่เลี้ยง ที่จะไปหนุนเสริมการทำงานของกองทุน 3.พัฒนาศักยภาพของผู้รับผิดชอบกองทุน 4.กระบวนการการติดตาม
5.ร่วมกันถอดบทเรียน กรณีศึกษา 6.การยกระดับการบูรณาการจากตำบลไปสู่ระดับอำเภออาศัยกลไก ของพัฒนาคุณภาพชีวิต ผลของการดำเนินการ ทีมเครือข่ายวิชาการ/ทีมระดับเขต/ทีมพี่เลี้ยง เห็นการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลง การเปลี่ยนแปลงของชีวิตประจำวัน กติกาของชุมชน ป้ายจราจร ทำให้สุขภาพของชุมชนดีขึ้น โครงการมีชุมความรู้อะไร วิถีการดำเนินชีวิตเปลี่ยนยังไง กระบวนการทำงานเกิดอะไรใหม่ๆ ขึ้นมา มีการร่วมมือของเครือข่ายอะไรยังไง เป็นโครงการที่เกิดจากกองทุน
เงินกองทุน 1.ปัญหาอะไรเป็นปัญหาสำคัญ 2.แต่ละปัญหาควรแก้ไขโดยโครงการอะไร -ไปหา/ไปคุยกับหน่วยงาน เครือข่าย

1.เวทีการถอดบทเรียนโครงการดีๆ ของกองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า โดย เจ้าของโครงการ/เจ้าของโครงการอื่น ผู้รับผิดชองกองทุน กรรมการกองทุนบ้านเหล่า พี่เลี้ยง ผู้ประสานงานเขต ทีมวิชาการ มีนายอำเภอมาร่วมฟัง/สสอ มาร่วมฟัง

วางแผนงาน 31 มี.ค.6531 มีนาคม 2565
31
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนงาน 31 มี.ค.65

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ติตดามความก้าวหน้า


  1. สื่อ PA ตัวอย่างโปรโมท PA https://fb.watch/c2RJwV3UA0/

  1. สถาปนิกขับเคลื่อน อปท. / อ.มาร์ค



  1. PA ในสถานประกอบการ
  • สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ.ปีนี้ จะมีการขับเคลื่อนนโยบายต่อยอดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ PA
    ในประเด็นการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานประกอบการ โดยจะขับเคลื่อนกับกระทรวงแรงงาน สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • ปีนี้ไร้พุงทำไปเยอะมากชวน คุณหมอเพชร ท่านอ.วรรณีไปขับเคลื่อนด้วยเพราะปีนี้มีธงนโยบายสถานประกอบการทำกับแผน pa
  • ต้นแบบคือรามา ศิริราช ฯลฯ มีหลักสูตรอบรม และมีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อน
  • ตั้งวง อ.พงค์เทพ อ.กุลทัต ให้พี่เชิญทั้ง 2 ท่านเข้าด้วย จะได้ทำงานด้วยกันไปด้วยกัน เปลี่ยนเป็นไป

  1. ลานกีฬาสาธ่ารณะและสุขภาพ กับกองทุนสุขภาพตำบล

- รอเอาเข้าวงใหญ่ก่อน - อาจารย์ติดต่อคุณผึ้ง สภาพัฒน์ตามความคืบหน้า


  1. เว็บ PA
    เป้าหมาย 1) ระบบฐานข้อมูลพี่เลี้ยง 200 คน
    2) ความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะการถ่ายทอด
  • เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA

  1. pa กับกองทุนสุขภาพตำบล

- วันที่ 5, 6,7,8,9 เมย.ไปภาคเหนือเขต 1 จ.แพร่
- วันที่ 20,21,22,23,24 เมย.ไปภาคอีสานเขต 10 จ.อุบลราชธานีและจังหวัดอื่นๆในภาคอีสานฯ

เขต 10 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและกองทุนสุขภาพตำบลฯ ในการทำแผน ข้อเสนอโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ27 มีนาคม 2565
27
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

09.00 – 09.15 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.15 – 11.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
11.00 – 12.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 14.00 – 16.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 16.00 – 16.30 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

@ ข้อมูลเขต 10

  1. เขต 10 มีกองทุนนำร่อง PA จำนวน 53 กองทุน
  2. มี 3 จังหวัดนำร่อง ได้ อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ
  3. กลไกพี่เลี้ยงจำนวน 24 คน

@ สถานการณ์ในพื้นที่ช่วงนี้โควิดระบาดในพื้นที่ อาจทำให้ทีมกลไกพี่เลี้ยงและกองทุนสุขภาพตำบลฯดำเนินการโครงการ PA ได้ไม่เต็มที่

เขต 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและกองทุนสุขภาพตำบลฯ ในการทำแผน ข้อเสนอโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ26 มีนาคม 2565
26
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ตัวอย่างโครงการเด็กเพชรสะเก็ดเมือง
  • ตัวอย่างพื้นที่สาธารณะนำมาให้มีกิจกรรมทางกาย ปลุกผัก
  • ตัวอย่าง การสร้างพื้นที่ห้องสมุดที่เก็บน้ำชุมชน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

09.00 – 09.15 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.15 – 11.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
11.00 – 12.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 14.00 – 16.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 16.00 – 16.30 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

@ การเลือกพื้นที่ถ่ายทำวิดีโอ

  1. เลือกพื้นที่ อ.ร้องกวาง จ.แพร่
  2. รุปแบบนำเสนอ

@ ยกตัวอย่างโครงการ PA 1. ลานกีฬาพัฒน์ วิธีการทำงาน คือ
- สำรวจชุมชน ปัญหาสุขภาพการมี PA เรื่องอาหาร - ออกแบบร่วมกันของชุมชน - ร่วมกันสร้างไปปรับปรุงสถานพื้นที่ 2. การทำโรงพยาบ้าน ปรับปรุงพื้นที่รองรับกิจกรรมนันทนาการ
เป็นพื้นที่เอาคนในชุมชนมามีกิจกรรมร่วมกัน และมีผู้สูงอายุมาเรียนรู้ปลูกผัก ไม้ดอกไม้ประดับ แก้ปัญหา
3. ตัวอย่างโครงการเด้กเพชรบุรีอ่านเมือง
- อ่านเทมือง เก็บข้อมูลในเมือง อะไรที่น่าสนใจ อะไรที่เป็นแหล่งท่อเงที่ยว - เด็กเพชรสะเก็ดเมือง อกกแบบเมือง - ทำกิจกรรมไนท์ไบร์ ปั่นจักรยานไปดุหล่งวัฒนธรรมต่างๆ เอาเด็กออกมาปั่นจักรยาน ไปสำรวจพื้นที่แต่ละพื้นที่ ช่วยกันออกบบทำถนนการเดินและจักรยาน นำร่องที่ถนนคลองกระแชง - ทำแผนที่เมืองอร่อยเมืองเพชร ถนนสายวัฒนธรรม นำไปสู่การทำงานร่วมกันของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
- ีนักท่องเที่ยวเข้ามาเกิดร้านค้า เศรษฐกิจ ทำให้เมืองเพชรเป็นเมืองกระตือรือร้นขึ้นมา

@ การเปรียบเทียบข้อมูลสถานการณ์

@ การประเมินคุณค่าโครงการ 6 มิติ

@ ผลการตรวจเว็บ / ปรับใหม่อีกครั้ง

@ พื้นที่ที่เลือกเพื่อจะถ่ายทำวีดีโอ (ชี้ประเด็นเรื่อง PA แต่ไม่ใช่แค่ออกกำลังกาย แต่เห็นวัฒนธรรม จิตวิญญาณ) คือพื้นที่อ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ เทศบาลตำบลร้องกวาง อบต.ร้องกวาง
• เทศบาลตำบลร้องกวาง กิจกรรมออกกำลังกายแอร์โรบิค รำวงย้อนยุค รำท่า มีครูสอน ออกทุกวัน มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เริ่มก่อตั้งโดยข้าราชการบำนาญ ปัจจุบัน • สตอรี่ VDO สถานการณ์ปัญหาสุขภาพมีอะไรบ้าง เช่นปัญหาผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง สิ่งที่บ้านเหล่าทำอยู่มีอะไรบ้างที่ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและบริโภค เช่น ลงแขกปรับพื้นที่ ออกกำลังกาย ฯลฯ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้นพวกนี้เกิดจากการ

@ หนนเสริมของสสส.ที่ให้ทำงานกับกองทุน ผลที่เกิดขึ้นเกิดการหนุนเสริมมากขึ้น เกิดการบูรณาการการำทงานร่วมกัน ขับเคลื่อนระดับอำเภอ
สิ่งที่ทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้คือพี่เลี้ยง กรรมการกองทุน เครือข่ายกองทุน ฯลฯ • สรุปเขต 1 เลือกพื้นที่บ้านเหล่า มีหลายกลุ่มวัย มีการใช้พื้นที่ในการทำกิจกรรม มีการทำกิจกรรมทั้งตำบล (บ้านเหล่าตอนนี้กำลังทำเรื่องเมืองสุขภาวะอยู่)

เขต 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและกองทุนสุขภาพตำบลฯ ในการทำแผน ข้อเสนอโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ25 มีนาคม 2565
25
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

09.00 – 09.15 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.15 – 11.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
11.00 – 12.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 14.00 – 16.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 16.00 – 16.30 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.แผน  1.ส่วนใหญ่มีสถานการณ์/เป้าหมาย         (ละเอียด  ขยาย) ปรับให้สมเหตุสมผล       2.โครงการที่ควรดำเนินการ: ต้องตอบเป้าหมาย
        และควรมีโครงการที่น่าสนใจ/รูปแบบที่เชื่อมโยงกับประเด็นปัญหาอื่น 2.การพัฒนาโครงการ(การเขียนโครงการ)  1.เพิ่มการพัฒนาโครงการ 2-3 โครงการ ให้เพิ่มโครงการที่น่าสนใจ หรือ ปรับโครงการเดิมให้น่าสนใจมากขึ้น 3.เพิ่มเรื่องติดตามโครงการ (อาจจะใช้โครงการปี 64-65) 2-3 โครงการ  1.เพิ่มการประเมินคุณค่า 4.แผนอำเภอ  พชอ. ให้มีแผน PA

เขต 12 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและกองทุนสุขภาพตำบลฯ ในการทำแผน ข้อเสนอโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ24 มีนาคม 2565
24
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

09.00 – 09.15 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.15 – 11.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
11.00 – 12.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 14.00 – 16.00 น.
ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 16.00 – 16.30 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

@ สิ่งที่ดำเนินการต่อ 1. แผน เพิ่มโครงการที่น่าสนใจในช่องโครงการที่ควรดำเนินการ 2. พัฒนาโครงการ ให้เป็นโครงการดีๆ 1-2 โครงการ 3. ประเมินคุณค่า เลือกจากโครงการที่ทำแล้ว อาจเป็นโครงการปีที่ผ่านมา

@คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะอนุกรรมการลานกีฬาในพื้นที่สาธารณะและสุขภาพ วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนลานกีฬาในแต่ละพื้นที่ 2. เพื่อทำให้คนเพิ่มการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา แนวทางการดำเนินงาน 1. คัดเลือกพื้นที่ 37 จังหวัด/ศูนย์ฝึกกีฬา 300 แห่ง - โครงการ 1 ตำบล 1 ชนิดกีฬา - ถนนกีฬา อย่างน้อย 1 แห่ง/จังหวัด 2. คณะทำงานระดับจังหวัด ขับเคลื่อน 37 จังหวัด 3. ประสานกองทุนตำบลฯ ทำงานร่วมกัน   ระหว่าง มหาดไทย/กรมส่งเริม/กกท./สปสช. 4. สสส. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย/คณะทำงาน/กก.กองทุน/ชุมชน

การประชุมคณะทำงานวางแผนการยกระดับกองทุนฯให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย22 มีนาคม 2565
22
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เตรียมงานประชุมวันที่ 24-27 มีค.
  2. แลกเปลี่ยนผลการกรอกข้อมูล PA ในเว็บกองทุนสุขภาพตำบล
  3. ติดตามความก้าวหน้างานและการใช้จ่ายแต่ละเขต
วางแผนจัดประชุมติดตามเว็บไซต์กองทุนฯ18 มีนาคม 2565
18
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนจัดประชุมติดตามเว็บไซต์กองทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. วางแผนประชุมกับพี่เลี้ยงเขตและเจ้าหน้าที่กองทุนฯ วันที่ 24-27 มี.ค. โดยเลือกจัดประชุมวันละ 1 เขต
    2.ให้พี่เลี้ยงและกองทุนเตรียมข้อมูล
  2. บันทึกแก้ไขข้อมูลก่อนวันประชุม เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกัน
ประชุมทดสอบระบบเว็บ PAthailand9 มีนาคม 2565
9
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมทดสอบระบบเว็บ PAthailand เวลา 13.00 ถึง 15.00

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมกับ สน.5 เตรียมแผน WS เครือข่าย PA9 มีนาคม 2565
9
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมกับ สน.5 เตรียมแผน WS เครือข่าย PA เวลา 15.30 ถึง 17.00

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วางแผนทำงานร่วมกับกลุ่มคณะปฏิรูปกีฬาและสังคม ในรูปแบบลานกีฬา 37 จังหวัด โดยใช้แพลตฟอร์มกองทุนสุขภาพตำบลในการเขียนโครงการเพื่อรับการสนับสนุนทุนในพื้นที่ต่อไป

ประชุมเลือกพื้นที่ถอดบทเรียนต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย8 มีนาคม 2565
8
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุป พื้นที่ถอดบทเรียน.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมออนไลน์ผ่าน zoom ตั้งแต่เวลา 15.00 - 17.00

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มุมมองถอดบทเรียน 1.จุดเด่น เป็นบทเรียนให้กับพื้นที่อื่นๆได้ 2. ที่ผ่านมา ปัญหาที่พบยังมอง PA ต่างมุมกัน
3.  มีความชัดเจนในเรื่อง PA
4. ลักษณะรวมประเด็น / 2-3 ที่มารวมกันได้
แลกเปลี่ยน 1.ปีนี้ความหมาย PA ชัดเจน
2.กองทุนมองการบริหารแผน กระบวนการทั้งหมด
3.แต่ละพื้นที่อาจมองไม่เหมือนกัน เน้นกิจกรรม เน้นบุคคล ความยั่งยืนไปต่อข้างหน้าได้
4.ถ้าพบอะไรใหม่ๆ ความหลากหลายให้กว้าง

พื้นที่นาท่อม พัทลุง 1.เห็นกลไก ความต่อเนื่อง มีรูปแบบหลายกิจกรรมมี PA
2.การขยายไปวงกว้าง เกิดจากหมู่ 6,7,8 แล้วขยายเรื่อง PA ไปหมู่อื่นๆ /เป็นวิทยากร กระตุ้นให้เกิด PA
3.โครงการเมืองจักรยาน (สิ่งแวดล้อม ได้รับรางวัลระดับประเทศ)/โครงการครอบครัวชวนเดินวิ่งปั่น / โครงการจักรยานสานฝันวันอาทิตย์ (กองทุน)// ชมรมออกกำลังกายสามวัย (กองทุน)/โครงการไม้พลองเพื่อสุขภาพ (กองทุน)/เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน 4.สมาชิกในแต่ละโครงการมีกิจกรรมในชุมชน จะมานำเสนอ ไปเดินวิ่ง เต้น ในทุกกิจกรรม และมีความรู้สึกดีที่มีโอกาสได้นำเสนอ ตั้งแต่งานประเพณีชักพระลอยกระทง เทศบาล
5.ความร่วมมือจากภาคเอกชน แต่ละกลุ่มมีเสื้อไม่ซ้ำแบบกัน เสื้อเขียงหมู
6.เชื่อมโยงไปเรื่องอื่นๆ ไปเยี่ยมผู้นำ คนไข้ สิ่งแวดล้อม
7.งบประมาณมาจากหลากหลาย เช่น พม. ก.ทรัพยฯ กองทุน สปสช. และ สสส. 8.มีจุดเช็คอิน / ป้ายความปลอดภัยจักรยาน

หนองจิก
1.กลไกพี่เลี้ยง ปัตตานีมี 3 อำเภอ หนองจิก เมือง ยะหริ่ง / พี่เลี้ยงกระจายช่วยดู
2.จัดกระบวนการให้กองทุนเขียนโครงการ / อนุมัติ 10 เปอร์เซ็น 3.จุดเด่น
-กลุ่มเยาวชนใช้กิจกรรมทางกายร่วมกับพ่อแม่ผู้ปกครองร่วมกิจกรรม / ลูกกับพ่อทำกิจกรรมด้วยกัน กีฬาฟุตบอล อยู่ในทีมเดียวกัน / ช่วงเดือนบวชถือศีลอด (4-5 เมษายน) จะใช้เวลา 20.00 -22.00 ให้เยาวชนมาร่วมทำกิจกรรม  /หลังละหมาดมีการปั่นจักรยาน    / จัดกิจกรรมออกกำลังกาย จ.-ศ. วันอาทิตย์แบ่งเป็นลีก โดยการจัดการแข่งขัน โดยมีทั้งลูกพ่อ ทีมละ 7-8 คน แข่งขันกันระยะยาว / ต่อยอดจากปีที่แล้ว / ความสัมพันธ์แน่นเฟ้น
-กลุ่มสตรี ใชพื้นที่ของอาคารช่วงเย็น
-ต.ปุยุด มีกิจกรรมโครงการขยับกายสบายชีวิวัยทำงานหมู่ 7 ได้เชิญภาคีเครือข่ายเดินวิ่ง มุสลิมะ ปั่นจักราน  / กิจกรรมเดินวิ่งถนน 4 เลน ทุกวัน เสาร์-...ศุกร์ / ปุยุดมีถนนตัดใหม่เชื่อมต่อไปยัง จ.ยะลา จะใช้พื้นที่ทำกิจกรรม
-มุสลิมะ กิจกรรมทางบ้าน ปลูกต้นไม้ต้นบอลปลูกผัก เชิงเกษตร / เน้นผู้หญิง
-กลุ่มเยาวชน เป้าหมาย 100 กว่าคนออกกำลังกายทุกวัน
-มีการปั่นจักรยาน
-มี 4 เครือข่าย 4 กลุ่มในโครงการเดียว

อำเภอยะหริ่ง / เลือกกองทุนพรุ่งนี้
-ทำงานในภาพของพี่เลี้ยง มาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
-ดึงข้อมูลทะเบียนราษฎร์มาวิเคราะห์ / ผลักดันไประดับ พชอ.
-วันที่ 15 มีค เรียกกองทุนมาปรับข้อมูลให้ตรงกับความเป็นจริง


อ.จะนะ 1. ขับเคลื่อนระดับ พชอ. การจัดการขยะ  NCD กิจกรรมทางกาย
2. อ.จะนะมี 14 กองทุน เข้าร่วม 8 กองทุน
3. กองทุนแม่ 4 กองทุน
4. ลงพื้นที่ถ่าย vdo และลงพื้นที่  / วันที่ 21 มีค.ช่วงบ่าย
5. ท่านนายอำเภอให้ความสำคัญสั่งไประดับพื้นที่
6. ทางท้องถิ่นอยากให้ลงไปยังพื้นที่ / เก็บรายละเอียดเพิ่มเติมในพื้นที่
7. ขุนตัดหวาย กิจกรรม PA ทำมาพอสมควร ได้งบจากโรงไฟฟ้า งบ ศอบต.มาร่วมขับเคลือน ท่านนยาเห็นด้วย นำงบกองทุนฯไปเติม เน้นการพัฒนาศักยภาพดึงคน เข่น มีผู้ป่วยติดเตียง จากติดเตียงกลับมาใช้เสทอนปกติ ทางญาติให้นั่งรถมาใช้เครื่องออกกำลังกาย ใช้เครื่องกิจกรรมทางกายในร่ม  /สะพานไม้แก่น
8. วันที่ 14-15-16 มีค วางแผนจะถอดบทเรียน ประสบความสำเร็จ / ประชุมกับพี่เลี้ยงกองทุนโดยตรง เสนอในส่วนของสารคดี

ประชุมวางแผนงานกับทีมสื่อ PA4 มีนาคม 2565
4
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมวางแผนงานกับทีมสื่อ PA 17.00-18.30

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายฯ ในเรื่องการจัดทำคู่มือหลักเกณฑ์หรือปรับปรุงระเบียบในการออกแบบและการใช้พื้นที่ เส้นทางการสัญจรทั้งในเมืองและชุมชน และพื้นที่สาธารณะ ที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย2 มีนาคม 2565
2
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายฯ ในเรื่องการจัดทำคู่มือหลักเกณฑ์หรือปรับปรุงระเบียบในการออกแบบและการใช้พื้นที่ เส้นทางการสัญจรทั้งในเมืองและชุมชน และพื้นที่สาธารณะ ที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย ผ่าน zoom เวลา 18.00 - 19.00

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมวางแผนการสื่อสารสาธารณะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (physical activity)2 มีนาคม 2565
2
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

08.30 - 09.00 น.
ลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์
09.00 - 09.15 น.
ชี้แจ้งวัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย... รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ)
09.15 – 09.30 น.
แนะนำข้อมูลการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (physical activity) โดย... รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ) 09.30 – 10.30 น.
แนะนำกองทุนสุขภาพตำบลฯต้นแบบและโครงการตัวอย่างการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย... หัวหน้างาน กองทุน สปสช.เขต 12 และพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ
(นายสมชาย ละอองพันธ์  ) 10.30 – 11.30 น.
ทีมสื่อสารวางแผนการสื่อสารสาธารณะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย
โดย ทีมสื่อสาร(นายอานนท์ มีศรี และดร.ฐิติชญาน์ บุญโสม) 11.30 – 12.00 น.
สรุปการประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

นัดคุยทีมสื่อ (สมัชชาฯ PA)25 กุมภาพันธ์ 2565
25
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

นัดคุยทีมสื่อ (สมัชชาฯ PA) เวลา 16.00 - 18.00น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทิศทางและเป้าหมายกองทุนระยะ 10 ปี -สุขภาพดี 4 มิติ

สถานการณ์การเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
-5กลุ่มประชากร ที่กำลังเผชิญความเหลื่อมล้ำด้านการมีกิจกรรมทางกายใรประเทศไทย

การปรับภูมิทัศน์เพื่อรองรับกิจกรรมที่หลายหลายของชุมชน -ปรับปรุงรองรับกิจกรรมผู้สูงวัย

คุยงาน PA mapping22 กุมภาพันธ์ 2565
22
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

คุยงาน PA mapping เวลา 13:00 - 15:00 น. ผ่าน zoom

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

วางแผนงานทำข้อมูล PA สสส21 กุมภาพันธ์ 2565
21
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนงานทำข้อมูล PA สสส.  เวลา 13:00 - 13:30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายใน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่19 กุมภาพันธ์ 2565
19
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 19-20.2.65 เขต 12 สงขลา.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

19 กุมภาพันธ์ 2565
08.30 – 09.00 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.00 – 10.30 น.
- นำเสนอศูนย์เรียนรู้ PA จำนวนอย่างน้อย 60 กองทุนฯ
โดย ทีมพี่เลี้ยง วิทยากรกระบวนการโดย นายสมชาย ละอองพันธ์ หัวหน้างาน กองทุน สปสช.เขต 12 10.30 – 12.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
นำกระบวนการประชุมโดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 16.30 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA โดย ทีมพี่เลี้ยง นำกระบวนการประชุมโดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร

20 กุมภาพันธ์ 2565
09.00 – 12.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย ทีมพี่เลี้ยง วิทยากรกระบวนการโดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 15.30 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงวิทยากรกระบวนการโดย นายสมชาย ละอองพันธ์
15.30 – 16.30 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย นายสมชาย ละอองพันธ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

PA ทำให้คนกระฉับกระเฉง เว็บที่ดีๆ ของเขต 12 คือ อบต.คลองขุด สตูล, เขต 10 เทศบาลเมืองกัลทรลักษณ์ พี่เลี้ยงเขต 12 เข้ารหัส P สถานะ ต้นแบบ และใช้งานจริง จะมำข้อมูลมาวิเคราะห์ ส่วนทดลองใช้จะไม่นำมาวิเคราะห์ ตัวอย่าง โครงการอบรมอาสาสมัครและผู้นำการออกกำลังกาย (อบต.อุใดเจริญ จ.สตูล) 1. วิเคราะห์สถานการณ์ มีPA เท่ารัยในวัยไหนบ้าง 2. เป้าหมายจะทำกับกลุ่มไหน 3. จะสร้างแกนนำ  

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่16 กุมภาพันธ์ 2565
16
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

08.30 – 09.00 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.00 – 10.00 น.
นำเสนอศูนย์เรียนรู้ PA จำนวนอย่างน้อย 30 กองทุนฯ
โดย ทีมพี่เลี้ยง 10.00 – 11.30 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA
โดย ทีมพี่เลี้ยง 11.30 – 12.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA
โดย ทีมพี่เลี้ยง 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 15.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยง 15.00 – 16.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA โดย ทีมพี่เลี้ยง 16.00 – 16.30 น.
สรุปและชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่14 กุมภาพันธ์ 2565
14
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 14 ก.พ.65 อุบลฯ.doc
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

10.00 – 10.30 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

10.30 – 12.00 น.
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ

12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร

13.00 – 14.30 น.
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สังเคราะห์ข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ

14.30 – 15.30 น.
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สังเคราะห์ข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ

16.00 – 16.30 น.
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้/คัดเลือกศูนย์เรียนรู้การดำเนินการจัดทำแผนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ

16.30 – 17.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • อาจารย์นำเสนอสถานการณ์ PA ในพื้นที่
  • สถานการณ์ PA วิเคราะห์เทียบกับปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร
  • เปรียบเทียบกับที่อื่น เป้นอย่างไรบ้าง
    ข้อค้นพบ
  • เป้าหมายต่ำกว่าขนาด ควรเพิ่มขนาด PA  เพิ่ม
  • กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ
  • กิจกรรมโครงการ  อบรมความรู้ ออกกำลังกายแอโรบิค ติดตามประเมินผล

แลกเปลี่ยนปรับโครงการ
1. ดูเป้าหมายผุ้สูงอายุก่อน สำรวจข้อมูลทั้งหมดมีเท่าไร
2. อ.พง๕เทพ เวลามองโครงการวัตถุประสงค์ก่อน และมองเป้าหมาย ปัจจุบันเป็นอย่างไร ทำอะไรมากน้อยขึ้นแค่ไหน
3. การแลกเปลี่ยน กลุ่มเป้าหมาย
4. การคิดสถนการณ์
หลังเที่ยง ลองหยิบโครงการปรับให้ดีขึ้น การเป็นศูนยืเรียนรู้จะมีโครงการที่ดี

13.30 น นำเสนอ

14.30 น. ลองฝึกทำแผนอำเภอ

แผนดีแล้ว / สถานการณ์ดีแล้ว /โครงการที่ควรดำเนินการอย่างน้อยสัก 10 กว่าโครงการเป็นอย่างต่ำ


การเขียนโครงการที่ควรดำเนินการ

โครงการปั่นจักยานเพื่อสุขภาพ นำร่อง 3 หม่บ้าน
ผูรับผิดชอบเป็นชมรมผู้สูงอายุ
กิจกรรม 1. ประชุมสร้างความเข้าใจ /ชี้แจ้ง 50 8น กำหนดรุปแบบให้บรรลุตามโครงการ
2. ป้องกันโควิด จัดให้มีเจลฮอลกอฮ
3. ปั่นเพื่อสุขภาพทุกวันอาทิตย์ ช่วงตี 5 ถึง 8 โมงเช้า
4. จัดกลลุ่มปันจักรยานบำเพ็ญประโยชน์ ค่าใช่จายน้ำดื่ม 5. จัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ 1 8รั้ง 6. ประเมินสมรรถภาพ ภาวะสุขภาพ จำนวน 3 ครั้ง เพื่อติดตามภาวะสุขภาพ
7. สรุปผลโครงการ จัดประชุมเพื่อรวบรวมข้อมูล

กลุ่มเป้าหมาย PA เพียงพอ 33 บวกเป้าหมายใหม่ 17 คน
กิจกรรมเมืองเพชร 1. ให้เด็กออกไปสำรวจ ออกแบบเมือง
2. กิจกรรม night bike เด้กคิดการปั่นจักรยานกระตุ้นการท่งเที่ยว ปั่นไปไหว้พระ นักท่องเที่ยว ชาวบ้านมาปั่นจักรยานด้วย 3. School bike เด็กนักเรียนนำร่องปั่นจักรยาน
4. ทำให้เป็นเมืองที่มีทั้งคนเดินเล่นคนปั่นจักรยาน
5. แล้วไปเชื่อมวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยว ทำท่องเที่ยวชุมชน ถนนวัฒนธรรม ทำแผนที่แผนพับเล่าเรื่องมือง
6. ชุมชนมานั่งวางแผน เด็กออกแบบเมืองแล้ว ผุ้ใหญ่จะออกแบบยังไง


การทำเรื่อง PA ไม่ได้ทำเรื่องเดียว ให้ไปเชื่อมโยงหลายๆเรื่อง

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่13 กุมภาพันธ์ 2565
13
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม กองทุน 13 ก.พ.65.doc
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

08.30 – 09.00 น.
ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.00 – 09.30 น.
นำเสนอศูนย์เรียนรู้ PA จำนวนอย่างน้อย 4 กองทุนฯ
โดย ทีมพี่เลี้ยง 09.30 – 11.30 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลสถานการณ์แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA
โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ
11.30 – 12.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA
โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหาร
13.00 – 15.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA (ต่อ) โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 15.00 – 16.00 น.
- ปฏิบัติการปรับปรุงข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของศูนย์เรียนรู้ PA โดย ทีมพี่เลี้ยงและกองทุนฯ 16.00 – 17.00 น.
สรุป และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อ.ประเสร็จ แนะนำพื้นที่
1. ช่วงนี้เป็นช่วงเปลี่ยนถ่ายนายก ทำให้การอนุมัติโครงการยังล่าช้าอยู่
2. สถานการณ์โควิดยังมีการระบาดในตำบล ทำให้งานไปยุ่งกับโควิดพอสมควร
3. งานต่อไปจะเป็นวาระของอำเภอ เชื่อม พชอ. และเชื่อมสมัชชาสุขภาพ

อ.พงค์เทพ
1. เป้าหมายบางใหญ่ได้กองทุนต้นแบบ 4 กองทุน และมีบางเลนขึ้นเป็นพื้นที่ที่ 5 ได้ 2. ตัวชี้วัดอันนึงคือ ผู้รับผิดชอบกองทุนเข้าใจเรื่อง PA

แลกเปลี่ยนความเข้าใจ PA กับผู้รับผิดชอบกองทุน - ทางกองทุนมีการจัดโครงการมาบางแล้ว สนับสุนนงบประชาชน ส่วนใหญ่จะเป็นการออกกำลังกายเป็นส่วนใหญ่ เช่น ส่งเสริมออกกำลังกายตระกร้อ ฟุตบอล / มีกิจกรรมส่วนใหญ่จะเป็นผุ้สูงอายุ และวัยทำงาน / ยังส่งเสริมในวัยเด็กเพิ่มเติม

อ.พงค์เทพ
- กิจกรรมทางกาย กับภาวะเนือยนิ่ง
- ปัจจุบัน PA ลดลง / เนื่อยนิ่งเพิ่มขึ้น - ถ้าจะทำให้คน active > จะทำให้ประเทศ Active ด้วย
- กิจกรรมทางกาย = การออกแรง มี 3 ระดับ 1) ระดับน้อย 2) ระดับปานกลาง 3) ระดับมาก
- ประเภทของการออกแรง
1) สัญจร : เดิน ปันจักรยาน
2) ทำงาน: การเกษตร 3) นันทนาการ : ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา
แลกเปลี่ยนคำถาม 1. การแสดงข้อมูลเครื่องจะแสดงข้อมูล / อันนี้ส่วนหนึ่งได้ตัดข้อมูลบางอย่างไม่น่าเชื่อถือออกไปแล้ว /
อ.พงค์เทพ
1. ถ้าจะบรรลุเป้าหมาย ควรมีโครงการอะไร  / เรามาดูว่าควรพัฒนาโครงการอะไรได้บ้าง

สิ่งสำคัญศูนย์เรียนรู้ 1. เข้าใจ PA ก่อน 2. ทำแผนเป็น
3. โครงการทรี่ควรไปตอบสนอง
โครงการเด็ก ศพด.
- การทำงานกับเด็กเล็ก ส่วนใหญ่ใช้คำว่า Active play / Active learning - สร้างการเรียนรู้อย่างไร เช่น กระดานทรงตัว การเดินบนไม้กระดานเป็นการทรงตัว / โยนห่วง แป้นบาส / ม้าโยกเยก ช่วยการทรงตัวขึ้นลงบันไดไม่มั่นคง
- กระดานทรงตัวเรียนรู้ A B C - ตัวอย่างบ้านน้ำเรียบที่สุราษฯ ให้เดินเคาะหม้อ กระทะ วัสดุในพื้นที่ สร้างจินตนาการ
- กระบวนการมีส่วนร่วมเข้ามาช่วยอย่างไร / การดึงพ่อแม่เข้ามาจะกลับไปที่บ้าน

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่10 กุมภาพันธ์ 2565
10
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุมพี่เลี้ยง 10.2.65.pdf
  • สรุปประชุมพี่เลี้ยง 10.2.65.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16.00-18.30 น. zoom ออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029103 ณ ห้องประชุม1403 ขั้น 14 ตึก LRC สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
เขต 4
• ตอนนี้ได้คัดเลือกกองทุนต้นแบบแล้ว
• มี 4 กองทุนที่มารับทุนไปแล้ว • วันที่ 11 กพ. 65 จะมีการจัดประชุมทบทวนกระบวนการ ผลสำเร็จของโครงการที่บางม่วง พบตอนนี้ข้อมูลในเว็บยังไม่ค่อยสมบูรณ์ • วันที่ 16 กพ.ที่จะลงพื้นที่ ตอนนี้ตอบรับมา 11 คน เน้นพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กองทุนด้วย

เขต 10
• การประชุมวันที่ 14 ก.พ.นี้ จะเน้นพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง และ • ตอนนี้มีกองทุนต้นแบบแล้ว 32 กองทุน
• มีโครงการที่ผ่านการอนุมัติน้อย • หลังจากนี้พี่เลี้ยงแต่ละคนจะลงพื้นที่เพื่อปรับปรุงคุณภาพ • เป้ากองทุนต้นแบบ 30 จาก 53 กองทุน แต่ยังไม่มีคุณภาพมากนัก • ตัวแผนไม่ค่อยมีปัญหา แต่มีปัญหาเรื่องการอนุมัติเพราะจะมีการเข้าอนุมัติเดือนมีนาคมทั้งหมด • วันที่ 16 กพ. นัดหมายผู้เข้าร่วมไว้ 20 คน แต่มีจ.น่านที่ไม่แน่ใจว่าจะออกจากพื้นที่ได้มั้ย • ลงในระบบแล้วบ้างบางโครงการอยากให้ม.อ. สร้างแบบประเมินความรู้ผู้รับผิดชอบ (ความหมาย PA, การทำแผน, การทำโครงการ)

เขต 12 - พื้นที่ต้นแบบตามเป้า 60 พื้นที่ ตอนนี้อยู่ในช่วงคัดเลือก ตอนนี้ได้จากพื้นที่ของสงขลา ปัตตานี ส่วนสตูลยังไม่เกิด - พี่เลี้ยงที่เข้าร่วมประชุมไม่เกิน 60 คน จาก 2 จังหวัด สงขลา ปัตตานี
- ได้ให้พี่เลี้ยงช่วยเติมชื่อพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบกองทุนในไฟล์ excel แล้วให้ส่งกลับมา - ให้พี่เลี้ยงส่งรายชื่อกองทุนได้ผ่านการคัดเลือกเป็นกองทุนต้นแบบ - ให้แกนนำพี่เลี้ยงเตรียมตัวสัมภาษณ์ การทำงานในพื้นที่และกระบวนการทำแผน โครงการ ติดตามประเมิน เป็นอย่างไรบ้าง

สรุปประเด็นสำคัญที่ดำเนินการความก้าวหน้าต่อ
1. พี่เลี้ยงส่งรายชื่อกองทุนต้นแบบ PA
2. พี่เลี้ยงส่งไฟล์ Excel รายชื่อผู้รับผิดชอบกองทุน
3. สนส.มอ. เร่งสร้างแบบประเมินความรู้ผู้รับผิดชอบ (ความหมาย PA, การทำแผน, การทำโครงการ) และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ PA ที่สามารถให้พี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กองทุน ผู้เสนอรับโครงการเข้ามาเรียนรู้หลักการในการทำแผน การเขียนโครงการ และมีการวัดผลกาสรเรียนรู้
4. ให้โปรแกรมเมอร์ปรับหน้าเว้บโครงการนำร่อง PA ให้สามารถดูแยกรายเขต รายอำเภอ รายตำบล ได้ และประมวลผลความสมบูรณ์

ประชุมวางแผน mapping เครือข่าย PA3 กุมภาพันธ์ 2565
3
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมวางแผน mapping เครือข่าย PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แผนปฏิบัติงาน mapping เครือข่าย PA

ประขุมเตรียมคำถามสัมภาษณ์พี่เลี้ยง2 กุมภาพันธ์ 2565
2
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • คำภามสัมภาษณ์พี่เลี้ยง 4 เขต.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เตรียมหัวข้อสมัภาษณ์พี่เีลี้ยง ที่ นนทบุรี แพร่ อุบลราชธานี และสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หัวข้อคำถาม สัมภาษณ์พี่เลี้ยง 1. ปัญหาที่เป็นปัญหาสุขภาวะในชุมชนมีอะไรบ้าง 2. กลไกสำคัญที่จะทำให้การจัดการระบบสุขภาพชุมชนดี ระดับตำบล ระดับอำเภอมีอะไรบ้าง และที่มาผ่าน work หรือไม่ work
3. การเข้าไปช่วยในการพัฒนาวิธีการทำแผน การเขียนโครงการ บริหารจัดการติดตามประเมินผล ได้ผลตอบรับอย่างไร
4. ผลลัพธ์ที่สำคัญที่คิดว่าเป็นผลสำเร็จของโครงการมีอะไรบ้าง
5. ควรพัฒนาต่อยอดอย่างไร

จัดการเอกสารเขต 4 ครั้งที่ 128 มกราคม 2565
28
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดการเอกสารการเงินเขต 4

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ณ วันที่ 28 มกราคม 2565
เขต 4 ยืมเงินจำนวน 2 ครั้ง
- วันที่ 18 ต.ค.64 จำนวน 100,800 บาท - วันที่ 10 ม.ค.64 จำนวน 92,200 บาท
รวม 193,000 บาท

เคลียร์เอกสารเบิกจ่ายแล้ว ดังนี้
1 วันที่ 16 พ.ย. ุ64 ประชุมคณะทำงาน และ วันที่ 3 ธ.ค.64 ประชุมพัฒนาศักยภาพกลไกฯ 79,100 บาท

กำลังเบิกจ่ายอีก 1 ประชุม

ผลดำเนินงานแสดงดัง link https://ppi.psu.ac.th/project/1710

จัดการเอกสารเขต 10 ครั้งที่ 128 มกราคม 2565
28
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • คำนวนเอกสารการเงินเขต 10 ณวันที่ 28 มค.65.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดการเอกสารการเงินเขต 10

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ณ วันที่ 28 มกราคม 2565
เขต 10 ยืมเงินจำนวน 3 ครั้ง
- วันที่ 18 ต.ค.64 จำนวน 264,240 บาท - วันที่ 13 ธ.ค.64 จำนวน 79,200 บาท
- วันที่ 19 ม.ค.65 จำนวน 423,840 บาท
รวม 767,280 บาท

เคลียร์เอกสารเบิกจ่ายแล้ว ดังนี้
1 วันที่ 20 ธ.ค.54 ประชุมคณะทำงาน 13,620 บาท
2 วันที่ 27 ต.ค.64 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ อุบลฯ 32,276 บาท
3 วันที่ 26 ต.ค.64 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ ยโสธร 30,090 บาท
4 วนที่ 14 ธ.ค.64 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ ศรีสะเกษ 39,700 บาท
5 วันที่ 20 ต.ค.64 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ ศรีสะเกษ 41,866 บาท 6 วันที่ 8,11,12 พ.ย.64 ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ/จังหวัด ศรีสะเกษ อุบลฯ ยโสธร 29,510 บาท
7 วันที่ 11,13,14 ต.ค.64 ลงพื้นที่ทำความเข้าใจ พชอ. 6,604 บาท
8 วันที่ 1-17 ธ.ค.64 อุบลฯ, วันที่ 10 พ.ย.-17 ธ.ค.64 ศรีสะเกษ, 24 พ.ย.-16 ธ.ค.64 ยโสธร , เวทีประชาคมทำความเข้าใจ PA และทำแผน PA 81,000 บาท
9 วันที่ 17 ธ.ค.64 พัฒนาศักยภาพกลไกฯ ยโสธร 28,672 บาท
10 วันที่ 21 ม.ค.64 ประชุมคณะทำงานระดับเขตและจังหวัด 12,428 บาท
รวม 315,766 บาท
(กำลังเบิกจ่ายอีก 1 ประชุม)

ผลการดำเนินงานเขต 10 แสดงใน link https://ppi.psu.ac.th/project/1716

รายงานความก้าวหน้าประจำเดือนให้กับ สสส.27 มกราคม 2565
27
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปงาน ยกระดับขับเคลื่อน PA ในระดับพื้นที่ช่วงเดือน ธค.64.pdf
  • สรุปงาน ยกระดับขับเคลื่อน PA ในระดับพื้นที่ช่วงเดือน ธค.64.docx
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ส่งรายงานความก้าวหน้าประจำเดือนให้กับ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานดังไฟล์แนบ

ประชุม meeting pa วางแผนงานกับผู้ประสานเขต26 มกราคม 2565
26
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุม meeting pa วางแผนงานกับผู้ประสานเขต

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เขต 1 มีจำนวน 53 กองทุน ศูนย์เรียนรู้จะมี ผู้รับผิดชอบหลัก 2 คน ที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ได้แก่ รพ.สต. 1 คน และเจ้าหน้าที่กองทุน 1 คน
    • มีแผน 17 กองทุน 5 โครงการ • วันที่ 28 มค. จะลงพื้นที่เวียงสา ซึ่งก่อนหน้านี้ลงไม่ได้เพราะสถานการณ์โควิด • ไม่สามารถทำโครงการได้ครอบคลุมแผน

  • เขต 4 มี 8 กองทุน 4
    • 4 ศูนย์เรียนรู้ มีแกนนำจากแต่ละศูนย์เรียนรู้มี 3 คน จาก รพ.สต. กองทุน และ
    • มีแผน 8 กองทุนครบ 15 โครงการ • 4 ศูนย์เรียนรู้ในตอนนี้เลือกไว้แล้ว • ให้สร้างพี่เลี้ยงกองทุนเพิ่ม ให้สร้างความรู้เรื่อง PA จะตามอีกครั้งประมาณวันที่ 28 มค.

  • เขต 10 มี 54 กองทุน
    • มีพี่เลี้ยงจากในจังหวัดและในอำเภอ เดือนกพ.จะพยายามหาศูนย์เรียนรู้ และให้พี่เลี้ยงระดับอำเภอหาคนที่จะรับผิดชอบจากแต่ละกองทุนของกองทุน
    • มีแผน 44 กองทุน 68 โครงการ • การพิจารณาศูนย์เรียนรู้ใช้เกณฑ์จากโครงการและเกณฑ์ของ สปสช.เอง (เข้าร่วมประชุมทุกครั้งให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี) มีแผนดี มีโรงการดีทั้งในความเป็นจริง และในโปรแกรม • ตอนนี้มีประมาณ 4 กองทุน ได้แก่ กองทุนตำบลกู่จาน กองทุนเทศบาลดงแคนใหญ่

  • เขต 12 มี 134 กองทุน
    • พี่เลี้ยงจะกำหนดศูนย์เรียนรู้ โดยศูนย์จะมีความรู้ดีๆ

แนวทางการพัฒนา 1. สร้างความรุ้ความเข้าใจเรื่อง PA ให้กับพื้นที่ 2. พัฒนาสักยภาพพี่เลี้ยงให้สามารถถ่ายทอดการทำแผน เขียนโครงการ และติดตามประเมินผลได้

ประชุมโครงการบูรณาการกลไกฯ26 มกราคม 2565
26
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 26.1.65 นำเสนอโครงการบูรณาการ ปี 2.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมโครงการบูรณาการกลไกฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปรับแก้ข้อเสนอโครงการ

ประชุมโครงการกีฬามวลชนฯ26 มกราคม 2565
26
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • อ.โอ อ.กุลทัต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนงานกีฬามวลชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางปฏิบัติ 1. mapping ข้อมูลกีฬามวลชน 2. กำหนดวันประชุม
3. นัดหมายครั้งต่อไปวันที่ 3 ก.พ.เวลา 10.30-12.00 น.

วางแผนลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง 4 เขต25 มกราคม 2565
25
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 25.1.65 สรุปประชุม.pdf
  • 25.1.65 สรุปประชุม.docx
  • กำหนดการลงพื้นที่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การขยายและยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (วางแผนการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ) วันที่ 25 มกราคม 2565 เวลา 12.30-15.30 น. ณ ห้องประชุม1403 ขั้น 14 ตึก LRC สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประชุม
1) ทางคณะทำงานได้วางแผนการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ ลงพื้นที่ 4 เขต รายละเอียดดังนี้
- 13 ก.พ.64 เขต 4 นนทบุรี
- 14 ก.พ.64 เขต 10 อุบลราชธานี
- 16 ก.พ.64 เขต 1 แพร่
- 19-20 ก.พ.64 เขต 12 สงขลา

2) ได้ออกแบบกำหนดการพัฒนาศักยภาพโดยเน้นให้พี่เลี้ยงสามารถถ่ายทอดการทำแผน PA พัฒนาคุณภาพโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการได้ ทั้งนี้ให้พี่เลี้ยงนำเสนอความก้าวหน้าของพื้นที่ต้นแบบ PA จำนวน 120 พื้นที่

3) จากสถานการณ์จะพบปัญหาในเรื่องการหาค่าร้อยละของสถานการณ์ PA ในพื้นที่ ทางคณะทำงานวิชาการต้องแนะนำวิธีการคำนวณให้พื้นที่เข้าใจได้ง่าย และควรมี่คู่มือหรือสื่อแนะนำการหาสถานการณ์ PA ในพื้นที่
- เบื้องต้นคณะทำงานได้ทบทวนการคำนวณค่าร้อยละ แสดงดังภาพประกอบ
วิธีนี้ตามแผนภาพได้ยกตัวอย่าง การหาค่าร้อยละของ PA ในวัยเด็ก 3 กลุ่ม ได้แก่ A B C
โดยกลุ่ม A สำรวจว่ามี PA พอเพียง จำนวน 60 คน , กลุ่ม B พบ 42 คน , กลุ่ม C พบ 65 คน
เพราะฉะนั้น การหาค่าเฉลี่ย PA ของวัยเด็กจะเท่ากับ 60+42+65 หารด้วย 3 จึงเท่ากับ 55.67 เปอร์เซ็นต์

วางแผนเก็บข้อมูล Mapping ของเครือข่าย สสส.24 มกราคม 2565
24
มกราคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • 24.1.65 สรุปประชุม.pdf
  • 24.1.65 สรุปประชุม.docx
  • Mapping เครือข่าย PA
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมยกระดับคุณภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของ สสส. (วางแผนการจัดทำ Mapping ข้อมูลและถอดบทเรียนการทำงานของเครือข่าย) วันที่ 24 มกราคม 2565 เวลา 12.30-15.30 น. ณ ห้องประชุม1403 ขั้น 14 ตึก LRC สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) ทางคณะทำงานได้วางแผนการเก็บฐานข้อมูลโดยวิธี Snowball โดยการสอบถามเครือข่ายถึงรายชื่อเครือข่ายและผลการดำเนินของเครือข่ายต่างๆ
mapping 4 ประเด็น
1) วิ่ง / เดิน / จักรยาน
2) พื้นที่สุขภาวะ
3) NCDs 4) เปิดรับทั่วไป

2) - ได้แนวทางการพัฒนาแอปพิเคชั่นในการเก็บข้อมูลบานเครือข่าย
จัดทำ Web./App. ฐานข้อมูลเครือข่าย ดังนี้
1. วิ่ง/เดิน 2. จักรยาน 3. พื้นที่สุขภาวะ 4. ลดโรค NCDs 5. เปิดรับทั่วไป

3) ให้แต่ละกลุ่มมาทำแผน / เขียนโครงการ / ติดตามประเมินผล (จัดประชุมช่วงเดือน มี.ค.-เม.ย.65 จัดประชุม 5 ครั้ง (จัด 1-2 วัน)) ประชุมเชิงปฏิบัติการ > แผนงานเดิน/วิ่ง ควรต้องทำอะไรบ้าง

ประชุมออกแบบการประเมินศักยภาพ PA และวางแผนลงพื้นที่เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ PA24 ธันวาคม 2564
24
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • ออกแบบประเมินศักยภาพพี่เลี้ยง และกองทุนpa.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ออกแบบการประเมินศักยภาพ PA และวางแผนลงพื้นที่เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1) ออกแบบการประเมินศักยภาพ PA - อ.กุลทัตช่วยดูและออกแบบแบบประเมินศักยภาพ PA - ทำฐานข้อมูลพี่เลี้ยงในระบบออนไลน์
- ทำฐานข้อมูลศูนย์เรียนรู้ PA ต้นแบบ ออกแบบประเมิน ดังนี้
1. กลไกพี่เลี้ยง วัดศักยภาพพี่เลี้ยง
- ความรู้ PA - ทำแผน PA
- การเขียนโครงการ - การติดตามประเมินผล
2. กลไกกองทุน
- ความรู้ PA - ทำแผน PA
- การเขียนโครงการ - การติดตามประเมินผล

  1. ผลสัมฤทธิ์

- แผน - โครงการ - ติดตามประเมินผล

2) วางแผนลงพื้นที่
- มกราคม 2565 วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม 2565 ประชุมติดตามมติสมัชชา PA (zoom)

  • กุมภาพันธ์ 2565 วัน พฤหัสบดี 10 กุมภาพันธ์ 2565 - อาทิตย์ 13 กุมภาพันธ์ 2565 ลงพื้นที่ประชุมกับพี่เลี้ยง PA วัน เสาร์ 19 กุมภาพันธ์ 2565 - อาทิตย์ 20 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 - 16:30 น. ลงพื้นที่ประชุมกับพี่เลี้ยง PA วัน ศุกร์ 25 กุมภาพันธ์ 2565 - จันทร์ 28 กุมภาพันธ์ 2565 ลงพื้นที่ประชุมกับพี่เลี้ยง PA

  • เมษายน 2565 วัน พุธ 6 เมษายน 2565 - เสาร์ 9 เมษายน 2565 ลงพื้นที่ประชุมกับพี่เลี้ยง PA วัน ศุกร์ 22 เมษายน 2565 - อาทิตย์ 24 เมษายน 2565 ลงพื้นที่ประชุมกับพี่เลี้ยง PA

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 10 ที่ จ.อุบลราชธานี21 ธันวาคม 2564
21
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 21 ธ.ค.64.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันอังคารที่ 21 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-17.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 10 จ.อุบลราชธานี

เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กำหนดการ 08.30 – 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.00 – 10.30 น. - ฝึกปฏิบัติการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
โดย ผศ.ดร.ลัดดา แสนสีหา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10.30 – 12.00 น. - การแปลงรูปแบบและกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ เป็นโครงการที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ลัดดา แสนสีหา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร

13.00 – 16.00 น. - ฝึกปฏิบัติการเรื่องการติดตามประเมินผล
โดย ผศ.ดร.ลัดดา แสนสีหา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รักษาการแทนผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 16.00 – 17.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การพัฒนากลไกระดับตำบล
1. ต้องทำให้ทุกภาคส่วนทำแผนได้ ทำโครงการ ติดตามประเมินผล
2. พบว่าโรคเรื้อรัง และปัจจัยเสี่ยง อัตราป่วย อัตราตาย ดีลี่อัตราความสุขของคนไทย
3. ผู้ชาย ปัจจัยที่ทำให้ความสุขลดลง คือ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด
4. ปัจจุบันมีโรคอุบัติใหม่เข้ามา / เรื่อง PM2.5 เข้ามา / สุขภาพจิตสังคมตามมา

จากสถานการณ์ ไปวางการเพิ่มเป้าหมาย PA เพียงพอ
- กลุ่มวัยทำงาน 1,000 คน
- มี PA เพียงพอ 300 คน
- เดิมเรามี PA เพียงพอ 30 % - เป้าหมาย วางไว้ 50 % - กลุ่มเป้าหมาย: คนที่มี PA ไม่เพียงพอ 200 คน

เวลาดู PA เพียงพอ 1. ระดับ : เบา กลาง หนัก 2. เวลา : 30-60 นาที
PA เพียงพอต้องระดับกลางและหนัก
เพราะฉะนั้นต้องการออกแรงปานกลางถึงหนัก ถึงจะเพียงพอ - โครงการต่างๆ เดินมากขึ้นวิ่งมากขึ้น แต่ยังไม่พอ - กิจกรรมลงแขกปีละ 3 8รั้งยังไม่เพียงพอ

  • อาชีพเกษตรกร
  • บางคนหน้าฝนขึ้นเขาไปเก็บเห็ดมาขาย
  • นันทนาการในสวน/สนามกีฬา

แลกเปลี่ยน กลุ่มเต้นแอโรบิค กลุ่มเต้นแอโรบิก : การทำการเต้นแอโรบิค 1. กลุ่ม 20 คน จะไปอยุกลุ่มไหน เช่น ชมรมลีลาส
2. การทำงานให้อยู่แบบวิถี จะยั่งยืน ภ้าแบบฉาบฉวยไม่มีกลุ่มคีย์แมนจะหายไป / สิ่งที่ยั่งยืนในกลุ่มจักรยาน เราไปหากลุ่ม ไม่ใช่ให้กลุ่มมาหาเรา เกิดจากแรงจูงใจ ไม่มีใครบังคับ คนที่ทำไม่ต้องถูกบังคับสมัตรใจ / กลุ่มวิ่งจักรยานจะทักกัน เป็นวัฒนธรรมที่มีความสุข
3. อำเภอจะปั่นจักรยาน / ต้องมีแกนนำ ทำให้เห็นภาพเปนต้นแบบทำสม่ำเสมอ 4. สิ่งที่ทำให้คนเดินตาม คนที่เป็นแกนนำทำให้เป็นตัวอย่างสม่ำเสมอ เหมือนคนบ้าทำทำอยุ่ตลอด / หาแกนนำ / คนเข้ามากิจกรรมต้องสนุก / 5. การทำกิจกรรมต่อเนื่อง ต้องทำให้สนุกสมัครใจ การวัดผลกิจกรรมวัดผลคือ สายสัมพันธ์
6. การทำ PA ในชุมชนต้องหาแกนนำ / ไม่คิดถึงตังค์ไปสนับสนุนเขาหนอย
7. ปี 61 อ.อารีย์ รับจาก อ.เกษม / การทำให้ยั่งยืนมี 3 องค์ประกอบ มี สิ่งแวดล้อม policy
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี PA สำคัญมาก / มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีการปั่นจักรยาน ทำเลนจักรยาน / ถ้าไปญี่ปุ่นจะมีเลนจักรยาน / การจัดร้านอุปกรณ์กีฬาที่เอื้อต่อการมี PA
การแยกกลุ่มวัยทำงาน เล่นสันทนาการ  /  การทำลานกีฬา /

แลกเปลี่ยน โจทย์ ชมรมแอโรบิคมาขอเงินกองทุนฯ เต้น 30 คนทุกวัน จันทร์ถึงศุกร์ ถ้าเราเป็นพี่เลี้ยง เราอยากให้เขาปรับโครงการให้ดีขึ้น ทำอย่างไร เป็นรูปธรรม 1. ค้นหากลุ่มเสี่ยง พี่เลี้ยงมีเวทีการประเมินผลลัพธ์ เช่น คนนี้มีนำหนักเกินต้องการลด / คนนี้เป็นเบาหวาน เอาคนกลุ่มเสี่ยงมาตรวจสุขภาพ สมัครใจ มีการวัดผลลัพธ์
2. คัดกรองเบื้องต้น ออกแบบการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
- อ้วน - โรคเรื้อรัง
- สุขภาพ สมบูรณ์ เป็นตัวอย่าง
3. สร้างแกนนำ / พัฒนาแกนนำ / สร้างอาชีพให้ผู้เต้นนำ
- สร้างหลักสูตร ขยายไปสู่โรงเรียน-ชุมชน
- ขยายความรู้ อสม.การเคลื่อนไหวแต่ละคน จะมีการเคลื่อนไหวขยับเขยื้อน ให้ทุกคนที่รับทราบข้อมูลเช้าใจเรื่อง PA
4. สร้างเครือข่าย / ชมรม
5. สอดแทรกความรู้ด้านสุขภาพระหว่างการมีกิจกรรม เช่น วันนี้จะมีคนวัดมวลกระดูก
6. สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ขยาย/กระจายให้ครบกลุ่มพื้นที่
ให้อยู่ใกล้ผู้ออกกำลังกาย
7. ประกวด /แข่งขัน / ต้นแบบระดับพื้นที่
8. เสริมกิจกรรมทางกายอื่นของชมรม เช่น โครงการสาธารณะประโยชน์

แลกเปลี่ยน
1. โปรเจีก ทำให้เขาเห็นอยากแก้ไข / การคัดกรองทำให้เห็นภาพถ้าปล่อยไป เบหวานความดันมาแน่ / คนที่พาดึงทำ เราต้องตรวจด้วย / แล้วก็สร้างแกนนำให้คนในชุมชนทำต่อได้ / อันนี้ใช้เงินกองทุนคัดกรองได้ / ใส่ความรู้ การแก้ปัญหา / โครงการต่อมาคือ การสร้างหลักสูตรแกนนำ / พัฒนาคนมีแกนนำ / การประเมินผลลัพธ์

โจทย์ ให้พี่เลี้ยงแบ่งกลุ่มออกแบบโครงการ 3 ช่วงวัย
กลุ่มเด็ก

เด็กเล็ก/อนุบาล
1. เด้กว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้ 2. ส่งเสริมการละเล่นพื้นบ้านเพื่อเสริมสร้างพัฒนการสมวัย เด็กประถมศึกษา/ขยายโอกาส 1. โรงเรียนเกษตรพอเพียง ปลุกผักอินทรีย์ตามฤดูกาล 2. กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ (หนูน้อยรักษ์สะอาด จัดตั้งธนาคารขยะเพื่อทุนการศึกษา) เด็กมัธยมศึกษา 1. To be number one (เต้น cover เต้นเชียร์ลีดเดอร์ / กลุ่มงานหัตกรรม/เล่นกีฬา/เล่นดนตรี/บำเพ็ญประโยชน์) 2. กีฬาต้านยาเสพติด (ส่งเสริมการฝึกซ้อมการเล่นด้วยกีฬา) 3. กีฬาพัฒนาชุมชน (ส่งเสริมการฝึกซ้อมการเล่นกีฬาเชื่อมสัมพันธ์ และบำเพ็ญประโยชน์)

แลกเปลี่ยนเพิ่มเติม - PA เด็กให้ไปเชื่อมวัฒนธรรม
- เราเพิ่ม PA เด็กแล้ว เด็กจะไปเพิ่ม PA ในครอบครัวได้อย่างไร เช่น เด็กลงไปช่วยพ่อแม่ทำการเกษตร พ่อแม่ขายอาหารเด็กเข้าไปช่วยการประกอบอาชีพของผู้ปกครอง
- ยุทธศาสตร์ชาติ Active play

กลุ่มวัยทำงาน
1.1 PA เพียงพอ
- ให้ความรู้การยึดเหยียดร่างกายที่ถูกสุขลักษณะกับทุกกลุ่มอาชีพ เช่น กรีดยาง ยกของเก่า ทอผ้า ทำเกษตรกรรม นักกีฬาทั่วไป
1.2 มี PA ไม่เพียงพอ
- ใช้วิถีชีวิตให้เป็น PA ไปเสริมให้เป็นตัวเขาเองอยู่แล้ว - ส่งเสริมการทำปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้ในสวนผลไม้ / ใช้แรงงานคน-นำขี้วัว-ขี้ควายมาเอง
1.3 ไม่มี PA เนือยนิ่ง
- การดูแลพื้นที่สาธารณะ เช่น ใช้แรงงานคนตัดหญ้า ริมถนน เก็บขยะ / น่าบ้าน น่ามอง
- สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการมีกิจกรรม PA

แลกเปลี่ยนเพิ่มเติม
- การวัดก้าวเดิน
- การเดินให้เดินเร็ว อย่าเดินทอดน่อง
- ถ้าจะทำกับกลุ่มออฟฟิต การแข่งขัน การเป็นทีม / สังคมช่วยกันกระตุ้น / การใช้ตัวไลน์ให้ออกกำลังกายร่วมกัน ทำพร้อมกันแล้วจับเวลา
- การตรวจสุขภาพประจำปี ปีละ 2 ครั้ง
- ตั้งแต่เราตื่นนอน การเดิมน้ำอุ่น ทำให้มีความอุ่น เดินไปมาก่อน ต้องมีสื่อ การทำบนโซเชียลมีเดีย การตั้งกลุ่มไลน์
- PA เพิ่มโครงการ คนกรีดยางมีการเกร็งของกล้ามเนื้อ ช่างตัดผม ก็เป็นออฟฟิศ ซินโดรม ทำโครงการรำไม้พลอง / การบริหารต้นขาแก้โรคข้อเข่าเสื่อม อ.พงค์เทพ แนะนำกลุ่มเพิ่ม
- กลุ่มสาธารณะประโยชน์
- กลุ่มวัฒนธรรม กลุ่มรำซิง
- กลุ่มครอบครัวสัมพันธ์
กลุ่มผู้สูงอายุ

แลกเปลี่ยนเพิ่มเติม 1. ที่พิบูลมังสาหาร เจอผู้สูงอายุครั้งละ 1 วัน / การออกกำลังกายเพื่อแก้ปัญหา / เมื่อกลับไปอยู่บ้านได้ออกกำลังกายต่อ / การเล่นดนตรี
2. โรงเรียนผู้สูงอายุ: มีกิจกรรมกิจวัตรประจำวัน จะช่วยเสริมแรง PA
3. อ.กุลทัต WHO แนะนำการออกกำลังกายโดยไทเก็ก ป้องกันการหกล้มของวัยผู้สูงอายุ / จะได้เรื่องการทรงตัว ได้เรื่องสมาธิ / การทำให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมจิตอาสาเข้าไปสอนการจักรสานไม้ไผ่ให้ศูนย์เด็กเล็ก ทำให้เกิดความผูกพันเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ เข้าไปช่วยมีกิจกรรมจิตอาสา การคัดกรอง
4. โรงเรียนผู้สูงอายุ พิบูลมังสาหาร สอนทำศิลปะ ตุ๊กตากาบมะพร้าวศูนย์เด็กเล็ก
5. ทางปัญญา/ความรู้  คนละอันกัน จิตวิญญาณความเอื้ออาทรมีปัญญาเสียสละ มีจิตสำนึกจริยธรรม มีนำใจนักกีฬารู้แพ้รู้ชนะรู้อภัย/ ปัญญารู้อะไรควรอะไรไม่ควร
6. ทางคณิตศาสตร์ มีเหตุ มีผล แต่ความดีกับความเก่ง

แลกเปลี่ยนการพัฒนาโครงการในกองทุนสุขภาพตำบล

แลกเปลี่ยนโครงการ 1. การทำโครงการให้เห็นเป้าหมาย เพิ่ม PA ที่เพียงพอให้กับชุมชน
2. แต่ละกลุ่มวันทำงานที่มี PA พอเพียง เราจะเริ่มจากกลุ่มไหนก่อน / ถ้ายากเราจะไปสตาทร์จากกลุ่มที่มี PA พอเพียงก่อนไหม
3. ถ้าเราเริ่มด้วยแอโรบิก เราควรสร้างแกนนำเครือข่าย เช็คแสกนกลุ่มไหนควรมีอะไรขึ้นบ้าง เดินวิ่ง ชมรมกีฬา / หลักจากที่มการออกแบบแล้ว ทำอย่างไรให้มีกิจกรรมที่ต่อเรื่อง
4. เช่น 3 เดือนจะมีเวลาแลกเปลี่ยนมหกรรมสิ้นปี เดิมน้ำหนัก 100 กิโล > ลดลง
5. การเพิ่ม record

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 12 ที่ จ.สงขลา18 ธันวาคม 2564
18
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 18-19 ธค.64.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย ในวันที่ 18-19 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม1402 ขั้น 14 ตึก LRC
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กลไกแบ่งได้ดังนี้ 1. กลไก ระดับตำบล : กองทุนตำบล/ พชต. 2. ระดับอำเภอ : พชอ.
3. ระดับจังหวัด : พชจ. 4. ระดับเขต : กขป./ อปสข./ผู้ตรวจ

แผนการดำเนินงาน 1. ต้องทำให้พี่เลี้ยง “เก่ง” เขต 1 : แพร่
เขต 4 : นนทบุรี
เขต 10 ; อุบลฯ เขต 12 : 5 จังหวัด ต้องทำให้พี่เลี้ยงเข้าใจ และทำด้วย

2. ทำอย่างไรจะทำให้ PA เพิ่มอย่างเพียงพอ<br />
PA รู้/ทำ ทำอย่างไรจะทำให้ PA เพิ่มอย่างเพียงพอ
ถ่ายทอด/พี่เลี้ยงให้กับพื้นที่<br />
ทำแผน/พัฒนาโครงการ/ติดตามประเมินผล<br />
  • ยกตัวอย่าง สถานกาณ์ PA ของ อบต.กำแพง อ.ละงู จ.สตูล
  • PA ระดับปานกลางเท่านั้น การทำโครงการต้องทำระดับปานกลางเท่านั้น

แลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยง คำถามการที่พี่เลี้ยงไปถ่ายทอดให้ตำบลจะพูดเรื่อง PA อย่างไร
1. ปัตตานี : PA กับการละเล่นสมัยก่อน เช่น การเล่นลูกข่าง เวลาเล่นมากกว่า 1 ชั่วโมง ตรงนี้ให้ผู้รับทุนออกไปว่าเด็กชอบการละเล่นอะไรให้จัดกิจกรรมนั้นๆ - 2. สตูล: เด็กตอนนี้ไม่มีพื้นที่เล่น ให้ทางโรงเรียนเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ทำความร่วมมือกับโรงเรียนให้มี PA เพียงพอ / เมื่อกลับไปบ้านไม่มีสถานที่ ครอบครัวควรมีสถานที่เล่นให้กับเด็ก / ตอนนี้ทุกที่จะเป็นพื้นที่อันตรายไปหมดทำให้ไม่กล้าออกมาเล่น / ดูในระดับพื้นที่
: มองว่าปัญหาในโรงเรียนมีครูพละ วิชาพละ แต่ปัญหาอยู่ที่ อบต.จะอนุมัติโครงการให้เขาทำไหม / สิ่งสำคัญกองทุนอนุมัติให้เขาทำ / ตอนนี้มีปัญหาโควิด ไปบั่นทอนการออกกำลังกายของเด็ก / พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญตรวนี้ ต้องไปทั้งครอบครัว
: การสร้างแรงจูงใจ เช่น โรงเรียนมีรางวัล รณรงค์ให้เขาตระหนักการออกกำลังกาย / การมีแรงจูงใจคะแนนจิตพิสัย / ท้ากันออกกำลังกาย ปรับเรื่องอาหาร การได้ทองคนละเส้น ทำให้อยากแข่งขัน น่าจะไม่ยากที่จะทำได้ เป็นแรงจูงใจ / ถ้าในโรงเรียนทำง่ายครูมีความเข้าใจ เด็กจัด PA mเพียงพอ เด็กมีการส่ง PA แต่ละวันให้ครูเป็นการเก็บข้อมูล ถ้าเป็นโรงเรียนนำร่อง

  1. พัทลุง : สร้างการรับรู้ให้กับพื้นที่ / มีแผน PA / ครอบครัวเดินชวนวิ่งปั่น / จักรยานสานฝันวันอาทิตย์
    ในโรงเรียน ไม่ค่อยเป็นห่วง / สร้างสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในชุมชน / สร้างถนนสุขภาพ เป็นสัญลักษณ์ถนนเดินวิ่งปั่น
  2. สงขลา : มองโรงเรียน/ครอบครัว/ชุมชน
    : โรงเรียนหลักสูตร active learning : ช่วงนี้เป็นช่วงโควิด ทำให้มีการเรียนออนไลน์ คิดเครื่องมือ ถุงยังเล่น > จัดอุปกรณ์ที่เล่นที่บ้านได้ กระดาษ พับกระดาษ ดินน้ำมัน / แต่ละพื้นที่จะมีเอกลักษณ์ต่างๆกันไป : ครอบครัวกีฬาสัมพันธ์ครอบครัว จัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในเชิงครอบครัวชุมชน
    : ในกลุ่มเด็กไม่ค่อยขาดในโรงเรียน แต่น่าจะขาดในชุมชน / เด็กบางคนเล่นเกมส์ / ให้ใช้การละเล่นพื้นบ้าน การแข่งขันแลกเปลี่ยนระหว่างหมู่บ้านชุมชน / การให้รางวัลสิ่งจูงใจ การให้รางวัลระดับชุมชน / ให้กองทุนทำเกณฑ์กลาง ให้วางรางวัลระยะสั่น
  3. ยะลา :  การปรับสภาพแวดล้อมให้เด็กไปออกกำลังกาย ทำถนนรอบๆทุ่งนา / บางคนมาเดินมาวิ่ง / กระแสทางสังคม / ถ้าหมู่บ้านไหนไม่มีการออกกำลังกายจะไม่มีการออกกำลังกาย / การมีกลไกชมรมมาช่วย

บูรณาการกับประเด็นอื่นๆ
1. การแก้ปัญหาเด็กติดเกม ยาเสพติด การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2. เกษตร-อาหาร > ในและนอกโรงเรียน 3. สิงแวดล้อม > ไปอนุรักษ์ป่าชายเลน / ขยะ/ป่าชายเลน 4. อาชีพ > ทำอย่างไรให้ช่วยครอบครัว เช่น ครอบครัวเป็นเกษตรกรทำร้านอาหาร > แก้ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว /เชื่อมกับศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา / รำโนราห์ ลิเกฮูลู / นวดแพทย์แผนไทย / แพทย์แผนลังกาสุกะ

โจทย์แลกเปลี่ยน ให้คิดว่าวิธีการทำอะไร > คิดเสร็จเป็นค่อยแปลงเป็นโครงการ
1. ในเด็กควรมีโครงการ PA ที่เพียงพอ
2. ในวัยทำงาน
3. ในผู้สุงอายุ

ในชุมชนเวลาดูสถานการณ์ 1. เด็กมี PA เพียงพอ 74.05 %
PA เพียงพอ 74.05 PA ไม่เพียงพอ 10.00 ไม่มี PA 15.05

โครงการ เพิ่มการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค
- สถานการณ์ PA วัยทำงาน 55 % - แก้ปัญหาโดยให้เต้น / กิจกรรม แอโรบิค
1) ค่าคนนำเต้น 2) ค่าอาหารว่าง / เครื่องดื่ม 3) ค่าเครื่องเสียง (ค่าเช่า) - กลุ่มเป้าหมาย : -30 คน
เต้นอาทิตย์ละ 5 วัน
งบ 50,000 บาท

แลกเปลี่ยนเพิ่มเติมกิจกรรม 1. วิเคราะห์กลุ่มมีสุขภาพอย่างไร

***โจทย์ หยิบมทา 1 กองทุนปี 65 แล้วลงทำแผน ปรับสถานการณ์ เป้าหมาย โครงการที่ควรดำเนินการ

การบ้าน 1. ทำแผน PA ปี 65 / สร้าง + ทบทวน ปรับสถานการณ์
เป้าหมาย เพิ่มโครงการที่จะบรรลุเป้าหมาย
2. เลือกมา 1 โครงการ
มาเขียน/ทบทวน ให้โครงการมีความสมบูรณ์

แลกเปลี่ยนโครงการ PA
จ.สตูล : โครงการ การเก็บข้อมูล ไปเก็บข้อมูล - วิถีคลองขุดเป็นชุมชนเมือง การใช้จักรยานน้อย - โครงการมโนราห์เพื่อสุขภาพ

คลีนิกพัฒนาโครงการความปลอดภัยกีฬามวลชนกับ สสส.17 ธันวาคม 2564
17
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

คลีนิกพัฒนาโครงการความปลอดภัยกีฬามวลชนกับ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปรับปรุงโครงการความปลอดภัยกีฬามวลชนการพัฒนาชุดความรู้และแนวทางการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชนเ และกลไกบูรณาการกับภาคีเครือข่าย

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 1 ที่ จ.แพร่6 ธันวาคม 2564
6
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม แพร่ 6 ธค.64.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ และสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-16.30 น. ณ โรงแรมแพร่นครา อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กำหนดการ 09.00 – 09.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.30 – 10.30 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอแนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยสื่อต่างๆ
เช่น PowerPoint
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง
10.30 – 12.00 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการทำแผนกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแผนกิจกรรมทางกาย
โดย พี่เลี้ยง
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.30 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง 14.30 – 16.00 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการติดตามประเมินผลผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง

16.00 – 16.30 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง PA สำคัญอย่างไร
1. สมัยนี้เด็กเรียนออนไลน์ ทำให้ใช้สายตาต่อหน้าจอมาก มีข่าวว่าเด็กเลือดออกในตา
2. ถ้า PA ลดลงจะส่งผลกระทบต่อเด็ก ความสนใจเด็กจะสนใจไปเรื่องมือถือเกม / วัยทำงาน NCD / ผู้สุงอายุ ลดไขมัน /
3. การเรียนออนไลน์ที่บ้าน เด็กอ้วนขึ้น นั่งกิน กินผักน้อยมาก / เด็กจะพวงออกไปไหนไม่ได้พาไปว่ายน้ำ / เด็กอ้วน
4. ผู้สูงอายุ PA มีบทบาทมากในการเสริมสร้าง / พชอ.สูงเม่น เห็นความสำคัญมากนำกิจกรรมออกกำลังกายมาใช้ในพื้นที่อำเภอสูงเม่น / อย่างน้อยในหนึ่งหมู่บ้านต้องมีชมรมออกกำลังกาย ทำกิจกรรม โดย อ.สูงเม่น ได้มีโอกาสมาเชิญชวนอำเภอสูงเม่น ทำกิจกรรมทุกวันพุธที่สนามที่ว่าการอำเภอสูงเม่น / โรงเรียนผู้สูงอายุ นำกิจกรรมออกกำลังกายไปใช้

สรุป
- การมี PA ที่เพียงพอต้องกลางกับหนัก ระยะเวลาอย่างน้อย 30 นาทีขึ้นไป
ยกตัวอย่าง
ปั่นจักรยาน 10 KM ไปวิ่ง เจาะน้ำตาลลดลงมานิดเดียว / เปลี่ยนวิ่ง 5 km ลด / ถ้ามี PA เบาไม่ช่วย ต้องมี PA ปานกลางถึงหนัก
1. กิจกรรมทางกาย มี 3 ด้าน
1) สัญจร : เดินประมาณ 10,000 ก้าวต่อวัน ถึงจะมีเพียงพอ แต่ยังเป็น PA ระดับเบา / เดินปั่นจักรยาน / โรงเรียนเด็กเรียน 45 นาทีแล้วย้ายห้อง
2) นันทนาการ: การละเล่นการออกกำลังกาย /กีฬา 3) ที่ทำงาน:
- แลกเปลี่ยนคนที่ทำงาน อยากเต้นแอโรบิก /การแข่งขันกีฬา - การส่งเสริมให้มีการแข่งขันกีฬาในสำนักงาน / ที่บ้านปั่นจักรยานมาทำงาน / ที่ทำงานมีทางลาดชัน /และมีแอโรบิคในสถานที่ทำงาน
- การเสนอแฟ้ม เป็นการถือแฟ้มขึ้นลง / การปลูกต้นไม้ การปลูกต้องดูแล / การใช้

แลกเปลี่ยนตัวอย่างโครงการ
- สัญจร เวลาเขียนโครงการจะทำอย่างไรเวลาเขียนโครงการให้คนมีเดินปั่นจักรยาน ยกตัวอย่างบ้านเหล่า ทำอย่างไรให้เพิ่มไอเดีย อาหารที่ไปที่วัดเป็นอาหารสุขภาพ
- สมัยก่อนเด็กๆถือธงไปโรงเรียน
- สถานที่ทำงาน
- ชุมชน ; การพัฒนา / ทุกเสาร์อาทิตย์ เกณฑ์กันมาช่วยกันพัฒนาพื้นที่ / จิตอาสาพัฒนาสภาพแวดล้อม กิจกรรมปลูกป่า / เวลาทำแบบนี้จะเพิ่มทั้ง PA เพิ่มสภาพแวดล้อม / เด็กเยาวชนทำแปลงผลผลิตทางการเกษตร เป็นการใช้แรง ใช้ความคิดด้วย
- PA กับอาชีพ ภาคเกษตร จะมี PA ที่มากกว่า - แอโรบิค ยกตัวอย่าง บ้านบางม่วง จะเพิ่ม PA 10 เปอร์เซ็นต์ คนหมื่นคนจะเพิ่มแอโรบิค 10 เปอรเซ็น เป็น 1,000 คน

พัฒนาแกนนำ 30 คน กิจกรรมออกแบบควร (การคิดแบบดาวกระจาย) 1. สร้างครูนำเต้น ทำให้ครูที่เต้นเป็นมีงานมีเงินมีรายได้จากการเต้น
2. สร้างสภาพแวดล้อม ขยายพื้นที่ ให้คนสามารถเข้าถึง
3. กลไกสนับสนุนอย่างไร เช่น พี่เลี้ยง งบประมาณ
แลกเปลี่ยน
- ประยุกต์การเต้นกับรำวงย้อนยุค
- ในงานกองทุนฯ การออกกำลังกายต้องวัดผลได้ / แบบวัดผลควรวัดผลแบบอื่นออกกำลังกายอย่างอื่น
- การวัดกิจกรรม เจ้าของงบอยากให้ / ถ้าไปวัดที่ผลลัพธ์จะวัดยาก /
- บางทีงบประมาณ ขึ้นจ้างจะผิดวัตถุประสงค์ / ถ้าเป็นชุมชนเมืองทำได้ / ถ้าเป็นชุมชน ชาวบ้าน ถ้านานไปมีปัญหาทางบ้าน - ต้องลบความเชื่อเดิมๆ การประเมินผลเบาหวานความดันลดลง / ภาคประชาชนมาช่วยเติมองค์ความรู้ /จริงๆไม่ได้ยาก
- ใน รพสต. นัดกันมาทำกิจกรรมทางกาย
- ความยั่งยืนออกกำลังกายไม่ควรมี ให้ลองเปลี่ยนกิจกรรมออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย ในวัยของ 60 / ให้เราเปลี่ยน /
- ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่าใช้จ่ายให้ดูตามความเหมาะสม / ออกกำลังกายในน้ำ การว่ายน้ำส่งเสริมป้องกันอุบัติเหตุ / ผู้พิการ

ภูเก็ตเมืองสุขภาพ
จัดกิจกรรมทางกายกับผู้พิการ

สิ่งหนึ่งที่น่าทำแล้ว ต้องเชื่อมกับเรื่องอื่น เช่น ทำแผล้วสร้างคนสร้างอาชีพ
- การเต้นแอโรบิค เต้นแล้ว เศรษฐกิจจะดีตามไปอย่างไร
- คนเต้นเยอะ การหาชุดออกกำลังกาย
- การละเล่น เกิดการอนุรักษ์เดิมๆของพื้นที่
- PA ในเด็กเพิ่มขึ้นมาเรียนนวดแพทไทยเรียนโยคะ / นวดแผนไทยไปตั้งชมรม รับนวดให้ชาวบ้าน สร้างรายได้ให้กับเด็กครอบครัว
- การเรียนรู้เรื่องป่าไม้เกษตร / มีเรื่องจิตสำนึกของเขา
- การเดินมากขึ้น ปั่นจักรยานมากขึ้น เล่นกีฬามากขึ้น / ช่วยจัดการปัญหาครอบครัว / เพิ่มการท่องเที่ยวได้

ตัวเลขสถานการณ์
1. ตัวเลขสามารถเปรียบเทียบได้

การทำแผน ช่วงบ่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ ผู้สูงอายุ / วัยทำงาน / วัยเด็ก
ตัวอย่างโครงการที่บ้านเหล่า

  1. การพัฒนาโครงการคุณภาพชีวิต แนวทางการดำเนินการ กาย สภาพแวดล้อม กลไก
  2. ตัวอย่าง ถ้าอบรมปลูกผัก เขาจะกลับไปปลุกไหมในความเป็นจริง
  3. โครงการที่ดี

- สร้างให้รู้ /เข้าใจ ศึกษา / ทำเป็น - สร้างสภาพแวดล้อมที่ให้เอื้อต้องการเพิ่ม PA (เพียงพอ) - ต้องมีกลไก การนำสู่เป้าหมาย / ท้องถิ่น สนับสนุน / พี่เลี้ยง
- อย่าลืม PA เพียงพอระดับกลางขึ้นไป สะสม 30 นาทีต่อวัน
- ออกแบบผู้สูงอายุพิการ การผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีชาวบ้านในการทำเครื่องกายภาพบำบัดของตนเอง / โครงการสนับสนุนการทำกายอุปกรณ์ โดยการมีส่วนร่วมระบบเพื่อนช่วยเพื่อน และมีกลไกสนับสนุน เช่น กลไกพี่เลี้ยงแนะนำติดตามประเมินผล เช่น พวกยางยืด ราวเดิน

โครงการวัยทำงาน
- หมู่บ้านสงกาน ชุมชนประกอบอาชีพเกษตร และมีกลุ่มจักรสาน จำนวน 60 ครัวเรือน กลุ่มนี้เวลามา รพสต. เปนโรคอ้วน โรคข้อ โรคกล้ามเนื้อ โรคกระเพาะอาหาร การใช้ยาไม่สมเหตสมผล และมีปัญหาเรื่องความดัน
- มีครูโยคะในพื้นที่ - กิจกรรม เริ่มจากการอบรมให้เขาเข้าใจ ว่าเป้นโรคที่เกิดจากประกอบอาชีพ - ทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ และจะขยายผลไปกลุ่มอื่นด้วย
- อบรมโยคะ 2 วัน - สร้างกระแสเย็นมาสัปดาห์ละ 3-4 วัน
- มีเครือข่าย อสม.ช่วยบันทึกติดตาม สร้างกระแสในชุมชน - กิจกรรมมีการถอดบทเรียน ทำจริงกี่หลัง ได้ผล อย่างไร
- วัดผลระดับ BMI /การลดการใช้ยาใน รพสต / ลดไขข้อ
- คน 60 คน / มี PA เพียงพอ 50 คน


แลกเปลี่ยนโครงการวัยทำงาน 1. การยืดเหยียด
2. การสร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อ มีการประกวด จัดกิจกรรมรณรงค์ออกกำลังกายผ่านโยคะ เป็นโยคะศิลปวัฒนธรรมในชุมชน / กลไก สร้างกลุ่มออกกำลังกายในโยคะ
3. กิจกรรมเป็นคน ถ้าเราสามารถรวมกลุ่มเป็นละแวก / ถ้าจักรสานเป็นบุคคล สามารถนำมารวมกลุ่ม ได้ทำกิจกรรมไปพร้อมๆกัน โดย อสม.เป็นพี่เลี้ยง ให้ อสม.ทำโยคะเป็น และเพิ่มเรื่องความหนัก/ เพิ่มเรื่องอื่นที่มากกว่าการโยคะ / โรคทางข้อหรือกล้ามเนื้อ ให้เขาเห็นประโยชน์จากเรื่องนี้ ทำให้เขาสนใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4. จักรสาน ชาย ตัดไม้ไผ่ / หญิง ถักสาน
5. มีกลุ่มไลน์ส่งไปทุกวันๆ
6. ดูข้อมุลจาก รพสต.ว่าโรคกลุ่มนี้ลดลงไหม
7. ต้องการครูสอนโยคะ
7.1) ต้องการพัฒนาครูโยคะ 7.2) ธรรมชาติที่ต่อเนื่อง นอกจากโยคะ จะมีกิจกรรมอื่นอะไรบ้าง
7.3) การสร้างแรงจูงใจ หรือการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ / รพสต. /กระบวนการกลุ่ม ถ้าให้ทำเองไม่ทำ


โครงการเด็ก
PA ใน 8 โรงเรียน ; ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรอาหารในโรงเรียน
- ทักษะชีวิต
- การปลุกผัก -การเตรียมแปลงผัก - การรดน้ำ - การทำปุ๋ยในโรงเรียน
- การปรับสภาพสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
- การนำทักษะไปปรับใช้ในชุมชน

ผล: การเพิ่มรายได้ ลดราจ่าย แก้ปัญหา ปัจจัยเสี่ยง

แลกเปลี่ยน
1. เป็นโครงการทีดี การออกแบบกิจกรรมที่สามารถตอบเรื่องอื่นๆได้ 2. เอาผุ้ใหญ่มาเล่ากิจกรรม ว่าการปลุกผักช่วยอะไรบ้าง 3. แรงจูงใจ ที่โรงเรียนเปนแปลงทดลอง และให้ไปทำระดับครัวเรือน ขยับไปสุ่กลไกของชุมชน ให้คนในชุมชนมาช่วย
4. การปรับสภาพแวดล้อมที่โรงเรียน ปรับพื้นที่รกร้างเสื่อมโทรม ลดปัญหาไข้เลือดออกยุงลาย
5. สภาพแวดล้อมดีขึ้น
6. เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
7. ให้โรงเรียนเพิ่มเรื่องคะแนน

พะเยา 5-17 ปี บ้านต่อม

  1. เป็นโรงเรียนสีขาว มีสิ่งแวดล้อม สนามกีฬา เกษตร
  2. กิจกรรมมองภาพรวมทั้งไปเสริมกลไกเดิมครูผุ้ปกครอง / ชมรมออกกำลังกายในโรงเรียน
  3. กิจกรรม; ก่อนทำโครงการมีครูพละศึกษา
  4. โรงเรียนปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่
  5. เด็ก 30 คนเป็นเด็กอ้วนไม่กินผัก ติดมือถือออนไลน์
    170 คน เดิน 15 คน ปั่นจักรยาน 20 คน ที่เหลือโดยสารรถ
  6. ใน 170 คนมีการออกกำลังกายปานกลางถึงหนัก
  7. กิจกรรมโครงการ จะประชุมชี้แจ้งผุ้ปกครอง / จัดกิจกรรม บัดดี้แกนนำ 30 คน มาจับคุ่ดูแลเพื่อนพี่น้องอีก 30 คนนั้น
  8. เนื้อหาความชอบที่ถูกจริต ทั้งแอปพิเคชั่น
  9. ฝึกทักษะดูสุขภาพทางกาย ดูแลเรื่องอาหาร ให้เข้าใจเด็กอ้วน เนือยนิ่ง / ให้เด็กแกนนำ
  10. มีคู่มือ 30 คน บันทึกกิจกรรมทางกาย และติดตามปะรเมินผล
  11. บุรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียน / ทั้งอาหารแป้ง
  12. มีการติดตามประมินโดยครูประจำชั้น
  13. การจัดตั้งชมชรมออกกำลังกาย / กิจกรรมยกย่องให้เด็กภาคภูมิใจ แลกเปลี่ยน
  14. อาจจะมีกิจกรรมมอบหมายครูให้เด็ก ทำกิจกรรมที่บ้าน ทำสวนครัว
  15. โยคะ การเพิ่มแกนนำ ให้ครุสอนโยคะเพิ่มขึ้น ทำสื่อโยคะ ทำเองที่บ้านได้ / มีแบบบันทึกให้เพียงพอ 45 นาทีต่อวัน / ถูบ้าน ล้างจานซักผ้า / ชีพจร
  16. ประกาศนโยบายทางโรงเรียน
  17. การเข้าค่ายผู้ปกครอง ออกกำลังกาย หาแรงจูลใจในตรงจริต

- การอบรม เปลี่ยนเป็น การพัฒนาทักษะ ประกอบด้วย ความรู้เข้าใจและปฏิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 4 ที่ จ. นนทบุรี4 ธันวาคม 2564
4
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปประชุม 4 ธ.ค.64 จ.นนทบุรี.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันเสาร์ที่ 4 ธันวาคม 2564 เวลา 08.30-16.30 น.
เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

กำหนดการ 08.30 – 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

09.00 – 10.30 น. - ฝึกปฏิบัติการออกแบบกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

10.30 – 12.00 น. - การแปลงรูปแบบและกิจกรรมเพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ เป็นโครงการที่มีคุณภาพ

12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร

13.00 – 16.00 น. - ฝึกปฏิบัติการเรื่องการติดตามประเมินผล

16.00 – 17.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประชุม 1. ที่ผ่านมาทางคณะทำงานเขต 4 ได้แนะนำการกรอกข้อมูลสถานการณ์ PA
2. ข้อมูล PA ใช้ข้อมูล PA ปี 2563 3. ที่มาของงบ สสส. และการดำเนินงานของ ทำเรื่อง เพิ่มกิจกรรมทางกาย อาหาร ลดปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่ 4. สปสช.ตั้งงบประมาณ เป็นแหล่งทุนในท้องถิ่นให้คนในชุมชนมาใช้เงินกองทุน
เงินกองทุนใช้ในการส่งเสริมป้องกันเป็นหลัก และทาง สสส.ไปหนุนเสริมเพิ่มศักยภาพในการทำแผนงาน โครงการในกองทุนสุขภาพตำบล 5. คนไทยเสียค่ารักษาโรคเรื้องรังมาก สาเหตุจากปัจจัย 2 อย่าง
- พฤติกรรมการกิน เสี่ยงโรค เป็นพฤติกรรมที่สร้างปัญหาสุขภาพ - การที่ไม่มีการออกแรง / เมือก่อนเรียกออกกำกาย / ปัจจุบันใช้คำว่า กิจกรรมทางกาย
6. การมีกิจกรรมทางกาย ช่วยให้คนแอคทีฟ ชาติแอคทีฟ 7. การมีพฤติกรรมเนือยนิ่งสูง เช่น นั่งประชุมทั้งวัน มีภาวะเนือยนิ่ง / สิ่งที่สำคัญคือ พยายามให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นอย่างเพียงพอ
8. โครงการปีนี้ทำอย่างไรให้มี PA ที่เพียงพอ

  • สถานการณ์ PA ของประเทศ ปี 64
  1. เด็ก 24.2 %
  2. วัยทำงาน 66.8 %
  3. ผู้สูงอายุ 55.6 %
  • PA มีความสัมพันธ์ทำให้เด็กเก่งขึ้น ถ้า PA น้อยอนาคตจะไม่ค่อยแอคทีฟ
  • ยกตัวอย่างสถานการณ์บ้านบางม่วง
  • สถานการณ์ระดับชาติ ระดับเขต ระดับอำเภอ และระดับตำบล

การคำนวณกลุ่มเป้าหมาย 1. รักษาคนเดิม 2. เพิ่มคนใหม่

การทำให้โครงการสำเร็จ 1. ทำให้คนเก่งขึ้น 2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อ 3. กลไก

ตัวอย่างการเต้นแอโรบิค
1. คน : สร้างครูให้เก่งขึ้น มีหลักสูตรครูเต้นแอรโรบิค มีครู 20 คน
2. สภาพแวดล้อม : ให้คนเข้าถึงได้ ให้สามารถเต้นได้ใกล้ๆ 3. กลไก : ทำให้ชมรมเข็มแข็งขึ้น มีเทศบาลมาช่วยเป็นพี่เลี้ยงมาช่วย

ช่วงบ่าย

  1. การทำแผนต้องมีโครงการอะไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น
    เด็กมี PA 35 เปอร์เซ็น /ปีหน้าจะมี 50 เปอร์เซ็น ต้องทำอะไร ต้องมีโครงการอะไรบ้าง
    ถ้าไม่มีโครงการ แผนจะไม่สมบูรณ์
    ต้องเขียนวิธีการให้เห็นชัดเจน

แลกเปลี่ยนคำถาม
ถ้าจะทำให้เด็กมี PA เพิ่มขึ้นต้องทำอะไร / มีโครงการ 5-17 ปี 1. ทำให้เด็กปลูกผัก ทำเรื่องอาหารด้วย 2. สนับสนุนเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก จะมีผู้ดูแล / จัดงบประมาณให้ได้มากๆ
3. ออกกำลังกายหน้าเสาธง 4. เดินเรียน / ปลูกข้าวในแปลงเรียนรู้ 5. จัดตั้งศูนย์กีฬา 6. ท้องถิ่นปรับปรุงการมีเลนจักรยาน การปรับปรุงพื้นที่ และการมีเครื่องเล่น 7. การเล่นวอลเลย์บอล ตีแบต การสนับสนุนของผู้ปกครอง การกลับบ้าน สนับสนนุให้ลุกออกไปทำกิจกรรมกับเพื่อน 8. แอโรบิค สำหรับเด็ก
9. ชมรมเด็กในชุมชน การรวมกลุ่มมาออกกำลังกาย สันทนาการ งานประดิษฐ์งานฝีมือ
10. ความสัมพันธ์ในครอบครัว เด็กกับพ่อแม่ ให้นักเรียนทำการบ้าน ทำกิจกรรมกับพ่อแม่ 30 นาที
11. การส่งเสริมอุปกรณ์กีฬา การจัดตั้งจุดอุปกรณ์ออกกำลังกาย
12. ท้องถิ่น พื้นที่เด็กทำกิจกรรม พื้นที่ สนามกีฬาสำหรับเด็ก

ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน ท้องถิ่น

PA ไปเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นๆ เช่น เด็กติดเกม ติดยา ท้องไม่พร้อม > เอากีฬา PA มา อ.พงคืเทพแนะนำ 1. จิตอาสา ชมรมรักสิ่งแวดล้อม 2. ลงไปช่วยเกษตร
3. ทำสวนผักในเมือง
4. ปุ๋ยชีวภาพ
5. การละเล่นมวยไทย รำกระบี่กระบอง

การเชื่อมโยงอื่นๆ ทำให้เด็กมีจิตสำนึกเพิ่มขึ้น
ต้อง


2. ถ้าวัยทำงาน จะทำโครงการ / ถ้าเพิ่ม PA - จัดกิจกรรมออกกำลังกาย การวิ่ง
- ที่ทำงานปกตินั่งทำงานยาวๆ / เช่น เบรกเช้า 15 นาที / บ่าย 15 นาที - กิจกรรม 5 ส / โยคะ - จัดสภาพแวดล้อม / รณรงค์ - กิจกรรมยืดกล้ามเนื้อระหว่างทำงาน
- เดินการใช้ลิฟ - ส่งเสริมการเดินทางรถจักรยาน
- ส่งเสริมการออกกำลังกายกีฬา ว่ายน้ำ / ส่งเสริมการว่ายน้ำในชุมชน
- โครงการท้าใจ รวมตัวในที่ทำงาน เช่น มีกลุ่มที่ชอบขี่จักรยานมารายงาน กลุ่มนึงชอบฟิสเนต ท้าในไลน์กลุ่ม - ชุมชนสถานประกอบการ ส่งเสริมให้มีกิจกรรม ด้านสิ่งแวดล้อมดูแลสถานประกอบการณ์

อ.พงค์เทพยกตัวอย่าง
- เช่น โครงการลงแขกทำกิจกรรม / ทำกิจกรรมเก็บขยะ - ที่บางกล่ำ พระกับคนในหมู่บ้าน ทุกวันจะปลุกต้นโกศล ทุกคนลงมาช่วยปลูก / ส่งเสริมการท่องเที่ยวเศรษฐกิจในชุมชน
- PA มีหลายรูปแบบ พื้นที่สาธารณะ แปลงเกษตรครบวงจร / ศูนย์เพาะพันธุ์เมล็ดพืช
ในฐานนะเป็นต้นแบบพี่เลี้ยง
- สวนสาธารณะ - ทำกิจกรรมร่วมกัน ปลุกผักสวนครัว รั่วกินได้


วัยผุ้สูงอายุ
- ดูแลผุ้สุงอายุติดบ้าน ปลุกผักรดน้ำพรวนดินในบ้าน / มีตัวแทนออกไปชักจุง พบคุย / รดน้ำผัก รดน้ำต้นไม้ ทำกิจกรรมส่งเสริม - ทำกายภาพบำบัด
- ส่งเสริมผุ้สุงอายุเข้าวัด
- ชมรมผุ้สุงอายุ รวมกลุ่มคนที่สามารถออกกิจกรรมได้
- กิจกรรมเดือนละครั้งได้ออกมา การจัดลีลาส
- สนับสนุนการแกว่งแขนทำได้ - ปลูกต้นไม้ / แชร์การปลูกต้นไม้ทีอบ แชร์การปลูกต้นไม้ - ท้องถิ่น สร้างกลุ่มไลน์ในผุ้สุงอายุ ส่งเสริม PA - ส่งเสริมกิจกรรรมในครัวเรือน พาผถชุ้อายุไปออกกำลังกาย / - กระตุ้นไม่เป็นโรคซึมเศร้าใช้เสียงเพลง - โรงเรียนผู้สูงอายุ ทำกิจกรรมร่วมกัน
- การเสริมสร้างอาชีพผุ้สุงอายุ /
- ส่งเสริมให้มีการเดินมากขึ้น / บ่อนเปตง / ส่งเสริมให้มีการเดิน
- ข้อเข่าสมุไพร / นำสมุนไพรที่ รพสต.มาเปนพี่เลี้ยงแนะนำ
- จัดตั้งอาสาบริการผุ้สุงอายุติดเตียบชงติดบ้าน การรวมกลุ่ม การขยับการออกกำลังกาย รอรับยา การสร้างชุมชนมผุ้สุงอายุในการออกกำลังกาย กิจกรรมเพื่อนช่วย้เพื่อน
การเพิ่มพื้นที่สาธารณะ การใช้ประโยชน์ ไปด

การจัดทำโครงการ
ปัจจัยสำคัญ -สถานการณ์

กิจกรรม 1. ทำให้คนเก่งขึ้น 2. ทำให้สภาพแวดล้อมเอื้อ 3. มีกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ยกตัวอย่าง
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ
การทำโครงการ ต้องทำให้สำเร็จ ไม่ใช่ทำให้เสร็จ

เริ่มต้นคิดว่าจะทำโครงการอะไร ทำให้เห็นว่ามีการวางสถานการณ์ เป้าหมาย

ประชุมวางแผนการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ22 พฤศจิกายน 2564
22
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมวางแผนการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ออกแบบกำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เป้าหมายการประชุม
  1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ
  • แนวทางออกแบบกำหนดการดังนี้
  1. รู้ว่า PA พอเพียง คือไร
  2. สถานการณ์PA พอเพียงปัจจุบัน
  3. เป้าหมายการมีกิจกรรมทางกายพอเพียงเพิ่มขึ้น
  4. แนวทาง/วิธีการ
  5. ควรมีโครงการอะไร
  6. ทำโครงการ
  7. ทำแล้วได้ผลเป็นอย่างไร
ประชุมคลินิกพัฒนาโครงการพื้นที่สุขภาวะภูเก็ต18 พฤศจิกายน 2564
18
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

คลินิกพัฒนาพื้นที่สุขภาวะภูเก็ต

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พัฒนาพื้นที่สุขภาวะภูเก็ต

การประชุมการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยและการแพทย์ในงานวิ่งของประเทศไทย16 พฤศจิกายน 2564
16
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยและการแพทย์ในงานวิ่งของประเทศไทย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สร้างความรู้ความเข้าใจให้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยและการแพทย์ในงานวิ่งของประเทศไทย
  • สร้างความรุ้เรื่องกลไกการจัดการงานวิ่ง ก่อนวิ่ง ระหว่างวิ่ง และหลังวิ่ง
  • ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการวางแผนทีมแพทยื
  1. ระยะทางการวิ่ว
  2. จำนวนนักวิ่ง
  3. ตารางการแข่งขัน
  4. เส้นทางการวิ่ง
  5. ลักษณะของเส้นทางการวิ่ง
  6. สภาพแวดล้อม ดินฟ้าอากาศ
  7. จำนวนบุคลากร และอุปกรณ์ทางการแพทย์
(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมปรับปรุงโตรงการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน13 พฤศจิกายน 2564
13
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • ประชุมปรับปรุงโครงการจัดทำแผนและโครงการจัดการกีฬามวลชน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ปรับปรุงวิธีการและตัวชี้วัดโครงการ
ประชุมปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย11 พฤศจิกายน 2564
11
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย โดยแบ่งระดับ ดังนี้ 1.ระดับการเรียนรู้ (กองทุนฯเข้ามาเรียนรู้ระบบ)  2.ระดับนำไปใช้ (กองทุนฯนำระบบไปใช้ปฏิบัติจริงในพื้นที่) 3.ระดับต้นแบบ (กองทุนฯที่เป็นต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย)

วางแผนคลินิกพัฒนาโครงการพื้นที่สุขภาวะ จ.ขอนแก่น ภูเก็ต เชียงใหม่11 พฤศจิกายน 2564
11
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนคลินิกพัฒนาโครงการพื้นที่สุขภาวะ จ.ขอนแก่น ภูเก็ต เชียงใหม่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำนวัตกรรมพื้นที่สุขภาวะของ สสส.ไปถ่ายทอดใน 3 จังหวัด ได้แก่ จ.ขอนแก่น ภูเก็ต เชียงใหม่ โดยสร้างความร่วมมือกับ องค์กรท้องถิ่น สร้างพื้นที่สุขภาวะในด้าน กีฬา สันทนาการ สัญจร  สวนสาธารณะ

วางแผนลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง8 พฤศจิกายน 2564
8
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กำหนดวันประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันเสาร์ที่ 4 ธันวาคม 2564 ประชุมเขต 4 จ.นนทบุรี วันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม 2564 ประชุมเขต 1 จ.แพร่
วันเสาร์-อาทิตย์
18-19 ธันวาคม 2564 ประชุมเขต 12 จ.สงขลา
วันอังคารที่ 21 ธันวาคม 2564 ประชุมเขต 10 จ.อุบลราชธานี

ประชุมคณะทำงาน Meeting PA ประจำสัปดาห์3 พฤศจิกายน 2564
3
พฤศจิกายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการของแต่ละเขต

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการพัฒนาสักยภาพพี่เลี้ยงที่ผ่านมา ได้ให้แต่ละเขตวางแผนงานและรายละเอียดการใช้งบประมาณ ตอนนี้ได้แผนและสนับสนุนงบประมาณไปให้ทุกเขตแล้ว
  • ผลการดำเนินที่มา เขต 1 ทำความเข้าใจกับพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ ประชุมเชิงปฏิบัติการกับกองทุนทั้ง 4 พื้นที่ / แผนงานต่อไปแลกเปลี่ยน ตัวอย่างกิจกรรมทางกายที่ลด NCD ในแต่ละกลุ่มวัย
  • เขต 4 ได้ประชุมทีมงานวางแผนดำเนินโครงการ และทำหนังสือขอขอ้มุลแผนและโครงการ PA ในปี 65 และแจ้ง สสจ. อปท.ในการเข้าพื้นที่ทำกิจกรรม
  • เขต 10 ได้ทำความเข้าใจเรื่อง PA กับ 3 อำเภอเป้าหมายแล้ว ครั้งต่อไปจะดำเนินการเรื่องทำแผนและโครงการผ่านระบบออนไลน์ / มีทีมวิชาการเรื่อง PA ในพื้นที่ได้เข้ามาร่วมเป็นพี่เลี้ยงดำเนินการ
  • เขต 12 ตอนนี้มีพื้นที่ดำเนินการไปแล้ว คือ สงขลา พัทลุง ปัตตานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย เขต 1029 ตุลาคม 2564
29
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม 2564 เวลา 14.00-16.30 น. ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบ ZOOM Meeting
https://zoom.us/j/9019029103 สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป้าหมายการประชุม
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผนและการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอแนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยสื่อต่างๆ
เช่น PowerPoint
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการทำแผนกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแผนกิจกรรมทางกาย
- พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย - แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

ประชุมวางแผนงาน PA ทั้งหมด26 ตุลาคม 2564
26
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมวางแผนงาน PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. แผนการพัฒนาคุณภาพโครงการ สสส.
  2. แผนการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง และการยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้ PA
  3. แผนการขับเคลื่อนนโยบาย กับ อปท. / แรงงาน / สื่อ
ประชุมแผนงานเดิน-วิ่ง กับ สสส.18 ตุลาคม 2564
18
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมแผนงานเดิน-วิ่ง กับ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้มาตรฐานการจัดงานเดินวิ่ง และความปลอดภัยในการจัดงาน
  • การจัดงานแบบ New Normal
ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย24 กันยายน 2564
24
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
  • สรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการพี่เลี้ยงกองทุน ล่าสุด 24 กย 64.pdf
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ
สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย วันศุกร์ที่ 24 กันยายน 2564 เวลา 09.00-16.30 น. ประชุมผ่านระบบออนไลน์ ZOOM https://zoom.us/j/9019029101 สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล

วันที่ 24 กันยายน 2564 ผ่านระบบออนไลน์ (Zoom)

การดำเนินงานที่ผ่านมา
การทำงานพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล/กองทุนตำบล เพื่อช่วยให้กระบวนการการดำเนินงานของกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น กองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้นก็จะพิจารณาจากการเขียนแผนที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาทางสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. จึงได้ลงไปช่วยในเรื่องของวิธีการ การทำแผนของกองทุน แล้วพิจารณาดูว่าโครงการที่อยู่ในแผนค่อนข้างดีหรือไม่ คุณภาพ ประสิทธิภาพ ตอบโจทย์หรือไม่ และมีความสอดคล้องกับแผนหรือไม่ จากนั้นจึงลงไปให้แต่ละกองทุนพัฒนาโครงการ (ซึ่งอาจไม่ทั้งหมด) และเมื่อทำแผนเป็น เขียนโครงการเป็น ได้รับการสนับสนุนแล้วก็จะต้องมีกระบวนการติดตามประเมินผล โดยที่ผ่านมาได้พยายามดำเนินการในเรื่องของกระบวนการติดตามประเมินผล ซึ่งพบจุดอ่อนที่ว่า เมื่อ training แผน 1-2 ครั้งแล้วจบไป ไม่ได้ติดตามอย่างต่อเนื่อง โอกาสที่กองทุนตำบลนำกระบวนการไปทำแผนอย่างต่อเนื่องจึงไม่น้อยมาก (กรณีของเขต 12 ค่อนข้างใช่เยอะ โดยเฉพาะในเรื่องของการเงิน) เช่นเดียวกับการพัฒนาโครงการ
แผนการดำเนินงานในปี 2564 ดำเนินการในเฉพาะบางเขตพื้นที่เท่านั้น ได้แก่ ภาคเหนือ เลือกเขต 1 ภาคอีสานเลือกเขต 10 ภาคกลางเลือกเขต 4 และภาคใต้เลือกเขต 12 เหตุผลที่ไม่ได้ทำทุกเขตเนื่องจากเมื่อพิจารณาศักยภาพของพี่เลี้ยงและบริบทแต่ละเขต โดยเฉพาะข้อจำกัดงบประมาณที่ทำให้การทำงานค่อนข้างทำได้ไม่เต็มที่ จึงจำเป็นต้องลดพื้นที่การทำงานลง เพื่อให้งบประมาณการทำงานในแต่ละเขตเป้าหมายเพิ่มขึ้น ส่วนประเด็นของเรื่องที่จะทำในแผนกองทุนจะไม่ทำทุกเรื่อง แต่จะเน้นในเรื่องของกิจกรรมทางกาย (PA) เป็นหลัก
ทำไมต้องทำแผนกองทุนตำบล เรื่องกิจกรรมทางกาย (PA)
จากแผนภูมิภาพข้างต้น จะเห็นว่าเป้าหมายสูงสุดของการมีสุขภาพที่ดี คือ การมีสุขภาพดีทั้ง 4 มิติ หมายถึง สุขภาพเรื่องกาย จิต สังคม และปัญญา (สุขภาวะทั้ง 4 มิติ) ในระยะเวลา 10 ถ้าจะทำให้สุขภาพทั้ง 4 มิติดี จะต้องลดปัจจัยเสี่ยง เช่น ยาสูบ การบริโภคเหล้าและสารเสพติด สร้างความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น (อุบัติเหตุลดลง) มีการบริโภคอาหารที่ดี (ความมั่นคงทางอาหาร จะต้องมีอาหารที่เพียงพอและประชาชนทุกคนเข้าถึงอาหารได้ และจะต้องมีการบริโภคที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ) กิจกรรมทางการต้องเพิ่มมากขึ้น สุขภาพจิตดีขึ้น มลพิษทางอากาศต้องลดลง (PM 2.5) และเหตุอุบัติใหม่และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ (Covid-19) ต้องลดลง
หากพิจารณาจากสาเหตุปัจจัยของการทำให้มีสุขภาพดีทั้ง 4 มิติแล้ว จะเห็นว่า เรื่องหลักๆ ที่ต้องดำเนินการมีทั้งหมด 8 เรื่อง ที่สสส. จะทำใน 10 ปี ข้างหน้า โดยที่ผ่านมาแผนกองทุนที่ได้ทำไปจะมีในเรื่องของ ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย และ Covid – 19 และในโครงการของการทำงานในปีนี้ จะเน้นการทำเรื่อง PA ซึ่งก็จะเป็นการไปเติมเต็มอีก 1 ตัวชี้วัดของ สสส. ซึ่งยุทธศาสตร์ที่จะทำให้ PA เพิ่มขึ้น จะพิจารณาจากวิสัยทัศน์ของ สสส. เป็นหลัก คือ “ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีวิถีชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาวะ” ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ คือ ยุทธศาสตร์ไตรพลังและยุทธศาสตร์เฉพาะ 5 ด้าน
สถานการณ์กิจกรรมทางกายในปัจจุบัน (PA) ในปี พ.ศ. 2555 คนไทยมีกิจกรรมทางกาย ร้อยละ 66.3 ในปี พ.ศ. 2562 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 74.6 ค่อนข้างอยู่ในเกณฑ์ที่ดี แต่ในปี พ.ศ. 2563 และ ปี พ.ศ. 2564 พบว่า กิจกรรมทางกายลดลง เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ซึ่งลดลงมาเหลือประมาณร้อยละ 50 จึงเป้าหมายหลักหรือวัตถุประสงค์ของการที่จะทำให้ มี PA เพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ในการเพิ่ม PA เดิมทีใช้ยุทธศาสตร์ 2 เพิ่ม 1 ลด แต่ตอนนี้ใช้เรื่องของ 3 active ซึ่งได้แก่ 1. Active People ทำอย่างไรทำให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย (วัยเด็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ และกลุ่มเปราะบาง) เป็นคนที่ active ในขณะเดียวกันถ้าหากจะทำให้ active people ได้ ก็จะต้องมี Active Environment 2. Active Environment เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำกิจกรรม/สร้างการ active (ลดภาวะเนือยนิ่ง) ยุทธศาสตร์ของการดำเนินงานเรื่องของ Active Environment จึงจะต้องไปเพิ่ม Health Space และ Built Environment 3. Active Society เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงประสบการณ์การมีกิจกรรมทางกาย ออกกำลังกาย และกีฬา ให้เป็นค่านิยมในการให้ความสำคัญในการใช้ชีวิตอย่างกระฉับกระเฉง หากทำทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมาข้างต้นได้ ก็จะเป็น “Active Nation”  ประเทศไทยจะเป็นชาติที่มีความกระตือรือร้น หรือเป็นชาติที่ active ซึ่งการเกิด Active Nation ก็จะนำไปถึงเรื่องของการพัฒนาประเทศ เป้าหมายหลักของการทำ PA คือ ทำให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพิ่ม ซึ่งจะต้องทำให้คนมี PA literacy ทำให้คนมีความรอบรู้ เข้าใจว่า PA คืออะไร ต้องทำให้เกิดสภาพแวดล้อม (ทำอย่างไรให้มีพื้นที่สุขภาวะ เอื้อต่อ PA) ต้องมีกลไกในการขับเคลื่อนเรื่อง PA (กลไกอะไร อาจมองในเรื่องของหน่วยงาน เช่น ท้องถิ่น  กองทุนตำบล)
ผลพลอยได้จากการทำให้มี PA เพิ่มขึ้นจะทำให้โรคเรื้อรัง (NCD) ลดลง แต่การที่ NCD ลด ไม่ได้มีปัจจัยมาจากการเพิ่ม PA อย่างเดียว ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับอาหารด้วย ในขณะเดียวกัน PA ก็มีความเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมอื่นๆ เช่นกัน เช่น ยาสูบ สุรา ความปลอดภัยทางถนน กล่าวคือ กิจกรรมทางกายก็ยังขึ้นอยู่กับสุขภาพจิต มลพิษ และอุบัติภัยต่างๆ ด้วย เพราะฉะนั้นการจะทำในเรื่องของ PA จะต้องไม่มองเพียงส่วนๆ/แยกส่วน จะต้องบูรณาการกับเรื่องอื่นๆ ด้วย
สิ่งที่จะทำให้งาน PA ขับเคลื่อนได้ ก็จะมีในเรื่องของกลไก กลไกกองทุนตำบล จะต้องเป็นกลไกหลักในการทำเรื่อง PA โดยกลไกกองทุนประกอบด้วย 1. กรรมการกองทุน 2. ผู้รับผิดชอบกองทุน (เจ้าหน้าที่) 3. ผู้ขอการสนับสนุนจากโครงการ  นับเป็นกลไกที่สำคัญที่จะนำไปทำต่อประชาชนในพื้นที่ เพื่อเพิ่ม PA  ประชาชนจะต้องมีความรู้ ต้องจัดสภาพแวดล้อมพื้นที่สุขภาวะ และกลไกของชุมชนเอง เช่น เครือข่าย กลุ่มต่างๆ อาทิ เครือข่ายผู้สูงอายุ จักรยาน เดินวิ่ง  นั้นแสดงว่า เป้าหมายของการดำเนินงาน PA คือ 1. ทำให้เกิดกลไกกองทุนตำบล 2. ประชาชนในพื้นที่มี PA เพิ่มขึ้น 3. เกิดกิจกรรมต่างๆ และ 4. เกิดเครือข่ายต่างๆ โดยการจะทำให้เกิดผลลัพธ์หรือผลผลิตทั้ง 4 ข้อ ก็จะต้องมีพี่เลี้ยง จะไปช่วยให้การดำเนินการของกองทุนมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งจะต้องทำให้กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 3 ส่วน (กรรมการ ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอการสนับสนุน) มี PA literacy มีทักษะในการบริหารแผน/โครงการ (การทำแผน PA) สามารถพัฒนา/ออกแบบโครงการที่เพิ่ม PA ได้ สามารถติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนแผน โครงการของกองทุน ทักษะในการขับเคลื่อนเชิงนโยบายของพื้นที่ (พชอ. ทำให้เกิดแผน PA ระดับอำเภอ)
คุณสมบัติของพี่เลี้ยงที่จะไปช่วยให้กองทุนมีประสิทธิภาพ คือ 1. จะต้องมีความรู้เรื่อง PA (PA literacy) 2. รู้วิธีการทำแผน โครงการ ติดตาม และประเมินผล
ข้อคำถาม: - ทำไมต้องไปเกี่ยวข้องกับกองทุนสุขภาพตำบล ทั้งที่เป็นงานของสสส.
ตอบ ด้วยงบประมาณของสสส. ที่น้อย ไม่อาจลงไปทำเรื่อง NCD ให้ลดลงได้ (PA เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยลด NCD) แต่งบประมาณของสปสช. ที่มีเพื่อสนับสนุนให้กับสธ.ดำเนินการเป็นหลัก ค่อนข้างมีมากกว่า ดังนั้น สสส. จึงมีหน้าที่ในการที่จะไปหนุนเสริมให้คนมีขีดความสามารถมากขึ้น/มีกลไกเกิดขึ้น ที่มีอยู่ให้เกิดขึ้น เพื่อลดปัญหา (ตามเป้าประสงค์) ต่างๆ ให้ได้
ทิศทางปฎิรูปประเทศ ตำบลเป็นจุดชี้ขาดของการปฏิรูปประเทศ (ชุมชนท้องถิ่นจะต้องจัดการตนเอง)

ประชุมปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย21 กันยายน 2564
21
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประชุมวางแผนการทำงาน วันที่ 21 กันยายน 2564 เวลา 11.00 -13.00 น.
ประชุมปรับปรุงระบบการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเพื่อยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้กิจกรรมทางกาย ณ ชั้น 10 ตึก LRC สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และประชุมออนไลน์ https://zoom.us/j/9019029101 ผู้เข้าร่วมประชุม 1. ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ 2. ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร 3. นายภาณุมาศ นนทพันธ์ 4. นายสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สินธ์ 5. นายญัตติพงศ์ แก้วทอง
6. นางสาวจินดาวรรณ รามทอง

ประเด็น
- ออกแบบเว็บไซต์เป็นเป็นเครื่องมือให้เกิดการเรียนรู้นำไปสู่การสร้างกองทุนฯศูนย์เรียนรู้ PA 120 กองทุน จุดประสงค์การสร้างกองทุนต้นแบบ 120 แห่ง 1. สร้างการเรียนรู้ให้เข้าใจเรื่องการทำแผน PA 2. เรียนรู้การพัฒนาโครงการ 3. ระบบรายงานวิเคราะห์ / ประเมินคุณค่าต่างๆ
แลกเปลี่ยนการออกแบบเว็บไซต์
- คุณภาณุมาศ: ออกแบบจับกลุ่มงานนำเสนอเฉพาะ PA ต้นแบบอีกหน้าเพจ - คุณสิทะพงษ์: ให้เอารายชื่อกองทุนมารวมกัน และรวมกลุ่มเป้าหมายพี่เลี้ยง
- แลกเปลี่ยนเรื่องการคำนวณค่าเฉลี่ยของปัญหาสถานการณ์ / เป้าหมาย
- แก้ไขปุ่มตัวช่วยคำนวณสถานการณ์
- อ.พงค์เทพ: ให้สร้างการรับรองว่าอันนี้เป็นแผนใช้งานจริง ถ้าไม่จริงเป็นการทดสอบ
- ให้สร้างแผนที่แผน โครงการ ติตดาม แบบกำหนดสี โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
ลำดับ คำอธิบาย สี 1 ต้นแบบ เขียว 2 นำไปใช้ ส้ม 3 เรียนรู้ แดง ให้แสดงผลตาม MAP แผนที่
- ให้มีการเรียนรู้ของ PA มีการประเมินเรื่อง PA สรุปการดำเนินการต่อไป
1. สร้างหน้าเพจใหม่รวมเฉพาะกองทุนต้นแบบ PA
2. สร้างระบบการเรียนรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย/ให้มีระบบทดสอบความรู้ความเข้าใจของพี่เลี้ยงและผู้เสนอโครงการ
3. สร้าง Mapping แผน พัฒนาโครงการ ติดตามประเมินผลโครงการ ให้แบ่ง 3 สี คือ
1) สีแดง คือ เรียนรู้ 2) สีส้ม คือ นำไปใช้
3) สีเขียว คือ ต้นแบบ

ประชุมวางแผนงานกองทุนสุขภาพตำบลฯ PA16 กันยายน 2564
16
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนงานกองทุนสุขภาพตำบลฯ PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แผนการใช้งบประมาณแต่ละเขต
  • ได้แผนจัดประชุมพัฒนาสกัยภาพพี่เลี้ยง
ประชุมวางแผนงานยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่8 กันยายน 2564
8
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมวางแผนงานยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และประชุม zoom ออนไลน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เขต 12 ทำแผนสุขภาพประเด็น PA โดยเขียนโครงการที่ควรจะทำไว้ โดยแผนทำช่วง กย.-ตค. และจะมีการเสนอโครงการและพิจารณาโครงการช่วงเดือน พย.-ธค. และจะดำเนินการโครงการช่วงเดือน มค. การทำแผนแต่ละที่อาจจะทำในช่วงระยะเวลาที่แตกต่างกัน
  • เขต 10 การทำแผนต้องสอดคล้องกับงบประมาณด้วย ได้งบมาแล้วเอาเงินมาแบ่งให้แต่ละหมวด
    เขต 4 กองทุนไหนที่ส่งแผน/โครงการปยัง สปสช.จะได้รับงบมา แต่งบที่ได้มางานไม่ทำไปตามแผนที่เขียนไว้ก็ได้ (เขต 4 ไม่ได้ทำแผนสุขภาพก่อน แต่ให้เขียนโครงการไปก่อน แล้วจะโอนเงินมาให้ เพราะเขาจะแน่ใจว่ามีโครงการที่จะทำจริงๆ) น่าจะทำแผนเสร็จเดือน พย.-ธค. สรุปจะทำแผนของปี 2565 ปรับพื้นที่ใหม่ดังแสดงในภาพ เลือกทำในอำเภอนั้นทำทั้งหมดทุกกองทุน/ร้อยละ 90 เลือก 120 กองทุนเป็นกองทุนต้นแบบ
    นัดประชุมครั้งต่อไป
    วันที่ 24 กันยายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย
วางแผนงานกองทุนฯ PA30 สิงหาคม 2564
30
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนงานพัฒนากองทุนต้นแบบ PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. จัดประชุมทำแผน PA และพัฒนาโครงการ
  2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงเรื่อง PA
  3. พื้นที่ดำเนินการ 120 กองทุน
ประชุมเรื่องชุมชนจัดการตนเองช่วงโควิด /และการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน10 สิงหาคม 2564
10
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเรื่องชุมชนจัดการตนเองช่วงโควิด /และการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนจัดการตนเองช่วงโควิด 3 เรื่อง
1. อาหารและสมุนไพร 2. การเข้าถึงระบบสาธารณสุข 3. การจัดการพื้นที่ HI และ CI

การจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน 1) แผนศึกษาวิจัย / นวัตกรรม
2) สร้างแนวทาง / เกณฑ์ คู่มือ / เครื่องมือ / หลักสูตร
3) การสร้างเครือข่าย / ชมรม
4) จัดสภาพแวดสภาพแวดล้อม
5) ผลักดันเชิงนโยบาย มาตรการต่างๆ
6) ระบบสนับสนุน / กองทุน

วางแผนกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบกิจกรรมทางกาย (กองทุนต้นแบบ PA)5 สิงหาคม 2564
5
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. วางแผนการทำงานยกระดับกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบกิจกรรมทางกาย
  2. คัดเลือกพื้นที่กองทุนฯ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การยกระดับกองทุนฯเป็นศูนย์เรียนรู้ PA
- กองทุนฯ สามารถทำแผนได้ พัฒนาโครงการได้ และติดตามประเมินผลได้
- กองทุน 120 แห่ง สามารถยกระดับเป็นกองทุนพี่เลี้ยงไปถ่ายทอดช่วยกองทุนฯอื่นๆใกล้เคียงได้

แลกเปลี่ยน - จำนวนกองทุนและพื้นที่ จะคุยกับพี่เลี้ยงในพื้นที่อีกครั้ง - การจัดทำแผนงานและโครงการที่ดีขึ้นอยู่กับตัวบุคคล/บุคลากรในพื้นที่ ไปช่วยพัฒนาคนในพื้นที่ให้มีความรู้ PA ทำแผนและโครงการได้ แล้วสามารถไปสอนถ่ายทอดให้กับคนอื่นๆ ได้
- กระบวนการทำงาน ทำให้เกิดศูนย์เรียนรู้ PA 120 แห่ง เป็นต้นแบบเรื่องทำแผน โครงการ และติดตามประเมินผลก่อน แล้วไปทำกระบวนการขยายต่ออีกกองทุนละ 2 แห่ง
- กองทุนที่ PA ไม่เด่นมาก แต่ทำแผนอื่นๆ ได้ สามารถเลือกมาได้ โดยหลักคิดเรื่องการทำแผน เขียนโครงการเหมือนกัน แต่ที่ต่างตรงดูสาระเนื้อหา PA ดูเรื่องสภาพแวดล้อม ดูกิจกรรมทางกายแต่ละช่วงวัย
- ช่วงนี้การเดินทางนัดประชุมค่อนข้างยากเพราะสถานการณ์โควิด

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมพัฒนาร่างโครงการกีฬามวลชนฯ29 กรกฎาคม 2564
29
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมพัฒนาร่างโครงการกีฬามวลชนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

PA วิธีการ 6 แนวทางของจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน 1. การจัดการความรู้ 2. หลักสูตร/คู่มือ 3. เครือข่าย 4. สภาพแวดล้อม 5. นโยบาย 6. ระบบสนับสนุน

(แผนงานกีฬามวลชน) สรุปประชุมกีฬามวลชนและวางแผนงาน PA22 กรกฎาคม 2564
22
กรกฎาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

สรุปประชุมกีฬามวลชนและวางแผนงาน PA

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุป การทำแผนกีฬามวลชน
เป้าหมาย > ว่าจะทำอะไร ทุกกิจกรรม
- กลางแจ้ง
- กีฬามวลชน - สาธารณะ
- บ้าน
1. ความรู้แนวทางมาตรฐาน สพฉ. / ทีมอบรม
2. การดูแลการจัดการวิ่ง สมาคม TMPSA / สสส.
- ความรู้ - การเตรียมงาน
- ทีมข้อมูล อ.ภคินี / เครื่องมือ / TMPSA / คุณหมอแป๊ป / อ.ณรงค์
3. ระบบสนับสนุน
Guideline / สมาพันธ์การจัดงานวิ่ง /คุณหมอแป๊ป ออกแบบรูป
- สพฉ. TMPSA มช. > คู่มือ Guideline > revise
- การบังคับใช้ในการจัดงานวิ่ง - ระบบ support / อาสาสมัครกีฬา /ท้องถิ่น / ชมรมวิ่ง

การอบรม BSL / การจัดการ มช. การอบรม AEDS / การจัดการ มช. - เครื่องมือ เก็บข้อมูล ททท./ อ.ภคินี
- ฐานข้อมูลกลาง

(แผนงานกีฬามวลชน) เข้าร่วมประชุมงานที่กี่ยวข้องกับการจัดการกีฬามวลชนกับ สคร.และกองกิจกรรมทางกาย กรมอนามัย30 มิถุนายน 2564
30
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมงานที่กี่ยวข้องกับการจัดการกีฬามวลชนกับ สคร.และกองกิจกรรมทางกาย กรมอนามัย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 29 มิ.ย.64 ปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและสอบสวนโรคกรณีหมดสติหรือการเสียชีวิตขณะวิ่งในที่สาธารณะ ครั้งที่ 2 ประเด็นพิจารราร่างคู่มือความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อที่สำคัญและแนวทางการสอบสวนโรคกรณี หมดสติหรือเสียชีวิตขณะวิ่งในที่สาธารณะ

วันที่ 30 มิ.ย.64 พิจารณา (ร่าง) คำแนะนำด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับมหกรรมกีฬา (กิจกรรมวิ่งประเภทถนน) ครั้งที่ 2/2564

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนความปลอดภัยการจัดกีฬามวลชน28 มิถุนายน 2564
28
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนความปลอดภัยการจัดกีฬามวลชน
วันที่ 28 มิถุนายน 2564 เวลา 09.30 – 12.00 น.
การประชุมออนไลน์ (zoom) https://zoom.us/j/9019029102
09.30 - 09.45 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม โดย ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้ช่วยผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และรักษาการผู้อำนวยการสำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ (สำนัก 5)

09.45 - 10.15 น. นำเสนอร่างแผนงานความปลอดภัยการจัดกีฬามวลชน
โดย ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ และทีมจาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

10.15 - 11.00 น. ระดมความคิดร่างแผนงานความปลอดภัยการจัดกีฬามวลชน
โดย ภาคีเครือข่าย สสส. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) กระทรวงสาธารณสุข การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) สมาคมการค้าผู้จัดงานกีฬามวลชนไทย (TMPSA-เท็มซ่า) สมาพันธ์ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพไทย ศูนย์นวัตกรรมและการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / นำกระบวนการพูดคุยโดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

11.00 – 12.00 น. สรุปแผนความปลอดภัยการจัดกีฬามวลชน
โดย สสส. และภาคีเครือข่าย /นำกระบวนการพูดคุยโดย สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุป การทำแผนกีฬามวลชน
เป้าหมาย > ว่าจะทำอะไร ทุกกิจกรรม
- กลางแจ้ง
- กีฬามวลชน - สาธารณะ
- บ้าน
1. ความรู้แนวทางมาตรฐาน สพฉ. / ทีมอบรม
2. การดูแลการจัดการวิ่ง สมาคม TMPSA / สสส.
- ความรู้ - การเตรียมงาน
- ทีมข้อมูล
3. ระบบสนับสนุน
Guideline / สมาพันธ์การจัดงานวิ่ง / ออกแบบรูป
- สพฉ. TMPSA มช. > คู่มือ Guideline > revise
- การบังคับใช้ในการจัดงานวิ่ง - ระบบ support / อาสาสมัครกีฬา /ท้องถิ่น / ชมรมวิ่ง

การอบรม BSL / การจัดการ
การอบรม AEDS / การจัดการ
- เครื่องมือ เก็บข้อมูล ททท./
- ฐานข้อมูลกลาง

ข้อคำถาม
- บทบาท > จัดงานวิ่ง
- รายที่มีปัญหาขณะวิ่ง
  ประเด็น > เกี่ยวกับหัวใจไหลเวียน

อุบัติเหตุอื่นๆ

อื่นๆ เพิ่มเติม
1. ทีม Organizer > มช. 2.TMPSA : จัดงานใหญ่ระดับโลก / LPGA กอฟล์ / สมาคมกีฬากรีฑารับรอง

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมเตรียมนำเสนอ แผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน27 มิถุนายน 2564
27
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เตรียมนำเสนอ แผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปรับปรุงเพิ่มแผนงาน ได้แก่ 1.ความรู้ นวัตกรรม ข้อมูล 2.ศักยภาพ/ทีมงาน 3.เครือขา่ย 4.การจัดการสภาพแวดล้อม 5.นโยบาย/มาตรการของสังคม 6.การสนับสนุนเชิงระบบ เชิงปริมาณ

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมวางแผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน กับ สสส.20 พฤษภาคม 2564
20
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วางแผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.จากสถานการณ์เกิดคนเสียชีวิตจากการออกกำลังกายแบบหนัก ทั้งในสวนสาธารณะ และงานวิ่งที่ยังไม่มีระบบจัดการคนตายในสนาม
2. จากตรงนี้ทาง สสส.และภาคเครือข่ายได้ตระหนักต่อการแก้ไขปัญหา ให้เกิดมาตรฐานงานวิ่งและสถานที่ออกกำลังกายต่างๆ
3. โดยแผนงานออกแบบไว้ 4 ขั้นตอน หลัก ได้แก่
1) การศึกษาทบทวนข้อมูลทั้งหมดที่มี โดยการสร้างทีมวิจัย ศึกษาถึง สาเหตุปัจจัย แนวทาง และกรศ๊กษา 2) workshop พัฒนาแนวทางและมาตรฐานต่างๆ โดย WS นี้ไปจัดกับ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มผู้จัดงาน นักวิ่ง 2. กลุ่มภาครัฐที่เกี่ยวข้องและภาคีองค์กรเครือข่ายวิ่งที่เกี่ยว 3. กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (Policy Makerต่างๆ) จากกระบวนการตรงนี้ก็จะทำให้ได้ แนวทาง/แผนงาน/มาตรฐาน 3) จากนั้นเอาแนวทาง/มาตรฐานไปทดลองใช้กับงานวิ่ง / ปรับปรุงให้สมบูรณ์
4. นำไปบังคับใช้ในเชิงนโยบาย ทั้งนโยบายระดับชาติและท้องถิ่น

ร่างแผนมี 3 ระยะ คือ 1. ก่อนมีกิจกรรม  2. ระหว่างมีกิจกรรม 3. หลังกิจกรรม
1) ก่อนมีกิจกรรม  เป็นการป้องกันและส่งเสริม  โดยการมีเกณฑ์มีมาตรฐาน มีคู่มือหลักสูตร
2) ระหว่างมีกิจกรรมการแข่งขัน และระหว่างการออกกำลังกาย จะมี Application เข้ามาช่วย 3) หลังกิจกรรม จะดูเรื่องการติดตามเฝ้าระวังภายหลังจากการจัดงาน

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมวางแผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน14 พฤษภาคม 2564
14
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

พัฒนาร่างแผนจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ร่างแผนแบ่งเป็น 3 ระยะในการจัดการตามไฟล์ภาพ

(แผนงานกีฬามวลชน) ประชุมพัฒนาแผนการจัดการความปลอดภัยกีฬามวลชน29 เมษายน 2564
29
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ระดมความคิดพัฒนาแผน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางร่างแผน ดังนี้
1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือวิชาการ - สถานการณ์ - สาเหตุ - ปัจจัย
- แนวทาง - Application (Event , ชีวีตประจำวัน) , (Pre-กลาง-Post)
2. แนวทางปฏิบัติ 3. ข้อเสนอเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. มาตรการหลักนำไปสู่การปฏิบัติ 5. ทดลอง 6. ประเมินผล

(แผนงานกีฬามวลชน)ประชุมพัฒนาระบบความปลอดภัยและความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินสำหรับนักวิ่ง กับ สสส.28 เมษายน 2564
28
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมพัฒนาระบบความปลอดภัยและความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินสำหรับนักวิ่ง กับ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางจาก สสส.ในการพัฒนาระบบความปลอดภัยและความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินสำหรับนักวิ่ง