สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

marokee vohleng
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
• มีกิจกรรมกองทุนในฝัน สำหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เมืองปัตตานี
• ชี้แจงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• นำเสนอสถานการณ์สุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• บรรยายการเขียนโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่มีคุณภาพ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• การวิเคราะห์และถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ
ผลลัพท์: • กรรมการกองทุนและผู้รับทุน ได้มีกิจกรรมกองทุนในฝันที่อยากให้เกิดขึ้นในพื้นที่
• กรรมการกองทุนและผู้รับทุน มีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ สถานการณ์สุขภาพระดับพื้นที่ และการเขียนโครงการคุณภาพ ตามแผนงาน 10 ประเด็น
• กรรมการกองทุนตำบลและผู้รับทุน ได้การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) และฝึกนำเสนอโครงการที่พัฒนา เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
• ชี้แจงโครงการ เป้าหมาย และทบทวนผลการดำเนินงานของกองทุนศูนย์เรียนรู้ อำเภอหนองจิก 13 แห่ง อำเภอยะหริ่ง 9 แห่ง ติดตามการจัดทำแผนการเงิน และแผนการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย 10 ประเด็น
• ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล การจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่ม
• กิจกรรมเริ่มด้วยการชี้แจงโครงการและเป้าหมายที่ต้องให้มีการจัดทำแผนงานโครงการที่มีคุณภาพ กรรมการสามารถพิจารณาโครงการที่เกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชน การใช้งบประมาณที่สมเหตุสมผล สำหรับผู้รับทุนสามารถดูแผนงานที่กองทุนได้เขียนไว้ในระบบ และสามารถเขียนโครงการผ่านระบบ
• มีการชี้แจงรายละเอียดประเภทหรือกลุ่มของโครงการ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการ
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ / จากการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ได้
ผลลัพท์: มีการบรรยายจาก ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้
• การแนะนำเว็บไซต์ (Website) กองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 12 แนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน
การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเขียนโครงการในระบบได้ โดยมีการนำเสนอตัวอย่างโครงการของแต่ละกลุ่มของกองทุน มีการวิพากษ์ระหว่างกลุ่มและทีมวิทยากร การให้ข้อเสนอแนะโครงการ
• กรรมการกองทุนสามารถพิจารณาในรายละเอียดโครงการความสมเหตุสมผลได้
• ผลการติดตามกองทุนศูนย์เรียนรู้ ทั้ง 2 อำเภอ
• มีการนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ / จากการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ได้
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
• ประชุมชี้แจงการจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ
• ประชุมชี้แจงโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน (เอกสารแนบ 1)
ผลลัพท์: พี่เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดทำแผนและเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น ตามผลการดำเนินงานที่แนบไว้
สามารถจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ และมีโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• สามารถฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน
อำเภอเมืองปัตตานี มี 10 กองทุน
1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 13 โครงการ
2. แผนงาน ยาเสพติด มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 24 โครงการ
3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 13 โครงการ
4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 7 กองทุน มีโครงการรองรับ 8 โครงการ
5. แผนงาน สุรา มีแผน 1 กองทุน มีโครงการรองรับ 1 โครงการ
6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ มีแผน 7 กองทุน มีโครงการรองรับ 8 โครงการ
7.แผนงาน สุขภาพจิต มีแผน 6 กองทุน มีโครงการรองรับ 10 โครงการ
8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน 5 กองทุน มีโครงการรองรับ 7 โครงการ
9. แผนงาน การจัดการขยะ มีแผน 10 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ
10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5 มีแผน 3 กองทุน มีโครงการรองรับ 6 โครงการ
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง (กองทุนศูนย์เรียนรู้ ) ณ ห้องประชุม รพ.สต.รูสะมิแล ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี
จำนวน 25 คน
ผลลัพท์: พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง (กองทุนศูนย์เรียนรู้ ) สามารถถ่ายทอดการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ให้กับ อสม.หรือ ผู้สำรวจข้อมูลสุขภาพได้
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
• ประชุมชี้แจงการจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ
• ประชุมชี้แจงโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน (เอกสารแนบ 1)
ผลลัพท์: • สามารถจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ และมีโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• สามารถฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน
อำเภอหนองจิก มี 13 กองทุน
1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 38 โครงการ
2. แผนงาน ยาเสพติด มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 39 โครงการ
3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 45 โครงการ
4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ
5. แผนงาน สุรา มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 32 โครงการ
6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ
7.แผนงาน สุขภาพจิต มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 37 โครงการ
8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 37 โครงการ
9. แผนงาน การจัดการขยะ มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 41 โครงการ
10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5 มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ

อำเภอยะหริ่ง มี 9 กองทุน
1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 27 โครงการ
2. แผนงาน ยาเสพติด มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ
3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 24 โครงการ
4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 20 โครงการ
5. แผนงาน สุรา มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 18 โครงการ
6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 21 โครงการ
7.แผนงาน สุขภาพจิต มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 18 โครงการ
8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน 7 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ
9. แผนงาน การจัดการขยะ มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 25 โครงการ
10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5 มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 20 โครงการ
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
คณะทำงาน จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 2 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. อำเภอเมือง ประจำปี 2566
1.การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 2.การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ( NCD )3.การอนามัยเจริญพันธ์ การแก้ไขการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล อ.เมืองปัตตานี ประจำปี 2566
1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอเมืองปัตตานี
• การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ ทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุนสุขภาพเพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี การพัฒนาคุณภาพ พชอ.
ผลลัพท์: มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้
• มีการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ตามประเด็นต่างๆของแต่ละอำเภอ ประจำปี 2566
• การขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอเมืองปัตตานี
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี และการพัฒนาคุณภาพ พชอ.
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
.คณะทำงาน จำนวน 8 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอหนองจิกและ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 2 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. อำเภอหนองจิก ประจำปี 2566
1.การจัดการขยะ 2. การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 3.อุบัติภัยทางท้องถนน
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล อ.หนองจิก ประจำปี 2566
1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. อำเภอยะหริ่ง ประจำปี 2566
1. โภชนาการในเด็ก 0-5 ปี 2. การใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU )3. การดูแลผู้ด้อยโอกาส/พิการ/ผู้เปราะบาง/ผู้สูงอายุ(ยะหริ่ง “อำเภอแห่งการแบ่งปัน”)4. การจัดการขยะ5. ความมั่นคงทางอาหาร6. ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น
7 การแก้ปัญหาความยากจน (TPMAP)8.จิตอาสาพระราชทาน9. โรคระบาด
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอหนองจิก และ อำเภอยะหริ่ง
• การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ ทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุนสุขภาพเพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง การพัฒนาคุณภาพ พชอ.
ผลลัพท์: มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้
• มีการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ตามประเด็นต่างๆของแต่ละอำเภอ ประจำปี 2566
• การขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอหนองจิกและอำเภอยะหริ่ง
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิกและ อำเภอยะหริ่ง และการพัฒนาคุณภาพ พชอ.
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 8 คน (อ.เมือง และอ. หนองจิก 4 คน ) ได้จัดกิจกรรมการติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(กองทุนสมัครใจ)
โดยการชี้แจงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนและบูรณาการการดำเนินงานกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
• มีการชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน โดยทีมพี่เลี้ยง
• การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามแผนงานและแผนการเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
• การประเมินในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล โดยดูจากแผนงาน โครงการและกิจกรรม รวมถึงความสอดคล้องกับนโยบาย การใช้เงิน
• กรรมการสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอรายกองทุนและภาพรวมของการดำเนินงานกองทุนสุขภาพอำเภอ
ผลลัพท์: มีการติดตามและประเมินผลโดยการนำเสนอและจากเวปไซด์ ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำขอเสนอแนะไปปรับ
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 12 คน (อ.เมือง อ. หนองจิก 4 และจาก อ.ยะหริ่ง คน ) ได้จัดกิจกรรมการติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(กองทุนศูนย์เรียนรู้)
โดยการชี้แจงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนและบูรณาการการดำเนินงานกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
• มีการชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน โดยทีมพี่เลี้ยง
• การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามแผนงานและแผนการเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
• การประเมินในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล โดยดูจากแผนงาน โครงการและกิจกรรม รวมถึงความสอดคล้องกับนโยบาย การใช้เงิน
• กรรมการสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอรายกองทุนและภาพรวมของการดำเนินงานกองทุนสุขภาพอำเภอ
ผลลัพท์: มีการติดตามและประเมินผลโดยการนำเสนอและจากเวปไซด์ ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำขอเสนอแนะไปปรับ
marokee vohleng เมื่อ 24 เม.ย. 2567
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน ประกอบด้วย
1.คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) อำเภอเมืองปัตตานี
2.ประธานกองทุนสุขภาพตำบล
• คณะทำงาน จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 1 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี
• แนะนำเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี การพัฒนาคุณภาพ พชอ.
ผลลัพท์: มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
• แนะนำเว็บไซต์ (Website)กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล และแนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี และการพัฒนาคุณภาพ พชอ.
ซึ่ง คณะกรรมพชอ.เมืองปัตตานี มีแผนสุขภาพที่เน้น ปัญหา 1.ปัญหากลุ่มเปราะบาง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ 2 .การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ( NCD ) 3.ปัญหาอนามัยการเจริญพันธ์
โดยจนท.กองทุนทุกกองทุน ในอำเภอเมืองปัตตานี 10 กองทุน สามารถนำประเด็นปัญหาใน พท.มาทำโครงการให้สอดคล้องกับแผนของ พชอ.ภายในอำเภอของตัวเอง ทั้งในปีงบประมาณ 2566 และปีงบประมาณ 2567 ต่อไป