บริการวิชาการนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

บริการวิชาการนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม บริการวิชาการนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม -
ชื่อชุมชน บ้านหลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์พุฒิพัฌน์ คุณะปัญญาดิลก
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 62/1 ถ.เกษตรสมบูรณ์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา อ.สพ.ญ.ภลิตา คุณดิลกพจน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์
อ.ดร.นภาพร วงษ์วิชิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
การติดต่อ 0849408306
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 497,670.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ หลุบ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ในจังหวัดกาฬสินธุ์อาชีพหลักคือเกษตรกร นอกจากการผลิตพืชเศรษฐกิจ แล้วยังคงผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เช่น สุกรขุน ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง ไก่สามสาย ไก่ดำ โคขุนและโคนม แต่สิ่งที่เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์นั้น ต้องเผชิญอำนาจการต่อรองทางด้าน การซื้อปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงมีผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูงและขาดทักษะเทคนิคการผลิตที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าในปัจจุบันนั้นลูกค้าต้องการสินค้าที่มีความปลอดภัย มีผลทำให้ผลผลิตไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้าจึงทำให้การจัดจำหน่ายผลผลิตนั้นไม่สามารถกำหนดราคาได้เองทำให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่ต่ำ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวสามารถนำแนวทางห่วงโซ่อุปทานที่เน้นให้กระบวนการดำเนินธุรกิจ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ที่มีการดำเนินงานอย่างสอดคล้อง เพื่อผลิตสินค้าที่ มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเป็นหลัก
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีความพร้อมที่จะนำองค์ความรู้และแนวทางการสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน เนื่องจากมีบุคลากรและนักศึกษาที่มีองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมทางการดำเนินธุรกิจ

และพื้นที่ที่สามารถนำมาเชื่อมต่อให้เกิดเป็นรูปธรรมเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร โดยนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทุกภาคการศึกษาในรายวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีกและนักศึกษาได้ศึกษารายวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการบริหารสินค้าในธุรกิจค้าปลีก นักศึกษานั้นสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้กับเกษตรกรจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ที่นำไปปฏิบัติงานจริง โดยนักศึกษามีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสังสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตร่วมกับชุมชนท้องถิ่นของตนเอง
ข้อมูลประเด็นปัญหา
เกษตรกรในชุมชนมีการเลี้ยงสัตว์และต้องการเพิ่มรายได้ เพิ่มคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในชุมชน เพื่อให้มีความมั่นคงอย่างยั่งยืน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

จากโครงการอาสาประชารัฐ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ที่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทย คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมาย การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ซึ่งโครงการฯ มีวัตถุประสงค์ดังนี้เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการ ปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกใน ความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ เช่น ด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และปัญหาคุณภาพชีวิต โดยการสร้างหรือนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาบูรณาการในการแก้ปัญหา และเพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่จำนวนมากในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและจัดการตนเองได้

ในจังหวัดกาฬสินธุ์อาชีพหลักคือเกษตรกร นอกจากการผลิตพืชเศรษฐกิจ แล้วยังคงผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เช่น สุกรขุน ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง ไก่สามสาย ไก่ดำ โคขุนและโคนม แต่สิ่งที่เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์นั้น ต้องเผชิญอำนาจการต่อรองทางด้าน การซื้อปัจจัยการผลิตที่มีราคาสูงมีผลต่อต้นทุนการผลิตที่สูงและขาดทักษะเทคนิคการผลิตที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าในปัจจุบันนั้นลูกค้าต้องการสินค้าที่มีความปลอดภัย มีผลทำให้ผลผลิตไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้าจึงทำให้การจัดจำหน่ายผลผลิตนั้นไม่สามารถกำหนดราคาได้เองทำให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่ต่ำ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวสามารถนำแนวทางห่วงโซ่อุปทานที่เน้นให้กระบวนการดำเนินธุรกิจ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ที่มีการดำเนินงานอย่างสอดคล้อง เพื่อผลิตสินค้าที่ มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป้าหมายเป็นหลัก

จากปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีความพร้อมที่จะนำองค์ความรู้และแนวทางการสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน เนื่องจากมีบุคลากรและนักศึกษาที่มีองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมทางการดำเนินธุรกิจ

และพื้นที่ที่สามารถนำมาเชื่อมต่อให้เกิดเป็นรูปธรรมเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร โดยนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทุกภาคการศึกษาในรายวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจค้าปลีกและนักศึกษาได้ศึกษารายวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการบริหารสินค้าในธุรกิจค้าปลีก นักศึกษานั้นสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมการดำเนินธุรกิจสุกรสมุนไพร โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรต่างชนิดของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้กับเกษตรกรจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ที่นำไปปฏิบัติงานจริง โดยนักศึกษามีความสามารถในการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสังสรรค์ สามารถ ออกแบบระบบงานมีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตร่วมกับชุมชนท้องถิ่นของตนเอง

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย vettech vettech เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 15:14 น.