การขยายผลรูปแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหารจากหมู่บ้านต้นแบบสู่ระดับตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

การขยายผลรูปแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหารจากหมู่บ้านต้นแบบสู่ระดับตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม การขยายผลรูปแบบการสร้างความมั่นคงทางอาหารจากหมู่บ้านต้นแบบสู่ระดับตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
หน่วยงานหลัก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน
ชื่อผู้รับผิดชอบ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ
ปี พ.ศ. 2558
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
พัทลุง เขาชัยสน โคกม่วง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราเชิงเดี่ยว ทำให้พื้นที่ติดริมคลองเกิดการพังทลายของหน้าดินกลายเป็นแหล่งน้ำตื้นเขินและประสบปัญหาขาดแคลนน้ำในช่วงหน้าแล้ง รวมทั้งวิกฤตเศรษฐกิจราคายางพาราตกต่ำ ทำให้รายได้ต่อครัวเรือนลดลง ชุมชนบ้านทุ่งยาวเข้าร่วมโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ โดย สจรส.ม.อ. จึงได้จัดทำเครื่องมือแผนพัฒนาชุมชนโดยมีวิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน "คนมีคุณภาพ เศรษฐกิจมั่นคง ชุมชนมีการจัดสวัสดิการ สิ่งแวดล้อมดี” โดยเริ่มจาก
- การจัดการน้ำด้วยการสร้างฝายชะลอน้ำตลอดแนวห้วยสังแก เพื่อเติมน้ำในบึงเก็บน้ำของหมู่บ้านให้มีใช้ตลอดปี โดยชุมชนร่วมกับหน่วยงานราชการ และองค์กรในชุมชน
- การสร้างการเรียนรู้ให้ประชาชนร่วมวิเคราะห์รายรับรายจ่ายครัวเรือนและชุมชน
- ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกกล้วยไข่ ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพเสริมทดแทนรายได้จากสวนยางพาราที่ขาดหายไป
- การแปรรูปผลผลิตเป็นเครื่องแกง กล้วยไข่ทอด ปลาดุกร้า
- ยกระดับผักสวนครัวเป็นผักปลอดสารเคมี
- จัดตั้งศูนย์สาธิตการตลาดร้านค้าชุมชนเพื่อให้ทุกคนในชุมชนได้เข้าถึงอาหาร และเป็นอาหารที่ปลอดภัย ประกอบด้วย
1. ศูนย์สาธิตการตลาดมีจำหน่ายข้าสาร อาหารแห้ง 1 ร้าน
2. ร้านค้าขายของขายข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด พืชผัก ผลไม้ 2 ร้าน
3. ร้านขายอาหารสด ขายอาหารสด เนื้อหมู เนื้อไก่ ปลา ผัก ผลไม้สด 1 ร้าน
4. โรงสีข้าวชุมชน ซื้อข้าวจากพื้นที่ทำนา เอามาสีเป็นข้าวสารขายในศูนย์สาธิตการตลาด และร้านค้าชุมชน
5. วิสาหกิจชุมชนผลิตเครื่องแกง ที่สามารถผลิตเครื่องแกงเพียงพอต่อความต้องการของหมู่บ้าน และสามารถส่งขายเป็นรายได้ของกลุ่ม
6. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านทุ่งยาวพัฒนา ผลิตผักขายในชุมชนและขายส่งนอกชุมชน
และในปี 2562 ได้ขยายผลการสร้างความมั่นคงทางอาหารให้ครอบคลุมทั้งตำบลเขาชัยสน โดยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลโคกม่วง เสนอและบรรจุเข้าสู่แผนพัฒนา 4 ปีเทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อสร้างให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • ความมั่นคงทางอาหาร

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

  • สจรส. ม.อ. : ชุมชนน่าอยู่ภาคใต้ 2559 บทเรียนจาก..ทุ่งยาว

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2562 21:13 น.