การปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ๋ยหมัก หมู่ที่ 4 แก่งสะเดา ต.ทุ่งมหาเจริญ อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว

การปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ๋ยหมัก หมู่ที่ 4 แก่งสะเดา ต.ทุ่งมหาเจริญ อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม การปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ๋ยหมัก หมู่ที่ 4 แก่งสะเดา ต.ทุ่งมหาเจริญ อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
หน่วยงานหลัก สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ
หน่วยงานร่วม คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ชื่อชุมชน หมู่ที่ 4 แก่งสะเดา ต.ทุ่งมหาเจริญ อ.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา -
การติดต่อ 029093026
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
สระแก้ว วังน้ำเย็น ทุ่งมหาเจริญ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติชุมชมบ้านแก่งสะเดา
บ้านแก่งสะเดา ตั้งขึ้นมาตั้งแต่ประมาณพ.ศ. 2515 แต่เดิมมีประชาชนตั้งบ้านเรือนในระแวก
นี้เพียง 3 หลังคาเรือน คือบ้านของพ่อใหญ่โป่ง บ้านของพ่อใหญ่เรียง ขวัญงอน และบ้านของพ่อใหญ่
ทองมี สมอาสา แต่หลังจากปีพ.ศ. 2515 ได้มีการอพยบของประชากรจากจังหวัดอื่นเพื่อมาหาที่ดินทำ
กินแห่งใหม่ ทำให้มีประชากรเพิ่มมาขึ้นเรื่อยๆตามลำดับ โดยประชากรที่เดินทางมาตั้งรกรากมาจาก
จังหวัดต่างๆ อาทิ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ นครสวรรค์ และอำเภออื่นๆ ของจังหวัดสระแก้ว
ปัจจุบันมีประชากรอยู่ทั้งหมดประมาณ 170 หลังคาเรือน โดยประชาชนที่อพยบมาอยู่ใหม่ได้มาจับ
จองที่ดิน ถางป่า และบางคนซื้อต่อจากผู้ที่มาครอบครองอยู่ก่อน บ้านแก่งสะเดาหมู่ 4 เป็นหนึ่งใน 28
หมู่บ้านของตำบลทุ่งมหาเจริญ ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบันชื่อนายเฉลิมศักดิ์ โสดสุภาพ
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
1.มีสถานที่ท่องเที่ยว เช่น แก่ง นํ้าตก สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นต้น
2.ผลิตภัณฑ์ OTOP
3.ความพร้อมด้านสถานที่
4.ชุมชนมีความสามัคคี
5.มีการแสดงดึงดูดนักท่องเที่ยว
6.ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ขาดความรู้ปลูกผักปลอดสารพิษ และองค์ความรู้และทักษะในการทำปุ๋ยอินทรีย์
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประชาชนชาวบ้านได้รับการยกระดับคุณภาพชีวิตโดยมีการรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพผู้ปลูกผักปลอดสารพิษโดยการปรับลดพื้นที่ปลูกอ้อย เพื่อเพิ่มรายได้ในระหว่างการรอพืชเชิงเดี่ยวรายปี ตลอดจนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะในการทำปุ๋ยอินทรีย์ การทำสมุนไพลไล่แมลง การปลูกผักแบบปลอดภัย และได้รับการพัฒนาทักษะการทำบัญชีครับเรือน และการทำการตลาดสินค้าเกษตร

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

Action Learning คือ การรวมกลุ่มของคนที่มีระดับของทักษะและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและพัฒนาแผนการดำเนินงาน โดยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ และองค์ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และองค์ความรู้และทักษะในการทำปุ๋ยอินทรีย์

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การปลูกผักปลอดสารพิษ
  • แก่งสะเดา
  • จ.สระแก้ว
  • ต.ทุ่งมหาเจริญ
  • และการทำปุ๋ยหมัก
  • หมู่ที่ 4
  • อ.วังน้ำเย็น

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย learnoffice learnoffice เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2563 16:03 น.