พริกแกง หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

พริกแกง หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม พริกแกง หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
หน่วยงานหลัก สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ
หน่วยงานร่วม งานวิชาศึกษาทั่วไป
ชื่อชุมชน
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์ ดร.เบญจภา ไกรทอง
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา -
การติดต่อ 029093026
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ปทุมธานี ลาดหลุมแก้ว คูขวาง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ชุมชนหมู่ 2 ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นพื้นที่ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของสังคม ในมิติทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม จนในที่สุดพัฒนาไปสู่ความทันสมัย (Modernization) ภายใต้กระแส (Globalization) ปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ศึกษาได้เข้าสู่ยุคทุนนิยม (Capitalism) อย่างเต็มตัวเพราะมีโรงงานมากกว่า 38 แห่ง ที่รายล้อมทั้งใน และนอกชุมชน การเข้ามาของห้างสรรพสิ้นค้าขนาดใหญ่ ได้แก่ บิ๊กซี โลตัส ตลอดจนร้านสะดวกซื้อ ได้แก่ ร้าน 7-11 และ ร้าน 108 ช็อป เป็นต้น ทำให้มองเห็นผลสะท้อนถึงระบบทุนนิยมที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอาชีพ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยพบว่า ในพื้นที่มีการผลิตพริกแกงเพื่อขายให้กับกลุ่มลูกค้าทั่วไป เพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบในการทำอาหาร แต่ทว่ากระบวนการผลิตจะขึ้นอยู่กับการสั่งสินค้าของลูกค้าในแต่ละครั้ง จากการสำรวจเบื้องต้นทราบว่าบรรจุภัณฑ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าสนใจ ดังนั้น นักวิจัย และชุมชนมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าของพริกแกงให้เป็นที่น่าสนใจยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าในชุมชน และเพิ่มรายได้ต่อเดือนให้กับกลุ่มสตรี
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
- มีกลุ่มสตรี
-ในพื้นที่มีการผลิตพริกแกงเพื่อขายให้กับกลุ่มลูกค้าทั่วไป เพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบในการทำอาหาร แต่ทว่ากระบวนการผลิตจะขึ้นอยู่กับการสั่งสินค้าของลูกค้าในแต่ละครั้ง จากการสำรวจเบื้องต้นทราบว่าบรรจุภัณฑ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าสนใจ
ข้อมูลประเด็นปัญหา
จากการสำรวจเบื้องต้นทราบว่าบรรจุภัณฑ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าสนใจ
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ดังนั้น นักวิจัย และชุมชนมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าของพริกแกงให้เป็นที่น่าสนใจยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าในชุมชน และเพิ่มรายได้ต่อเดือนให้กับกลุ่มสตรี

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

Action Learning คือ การรวมกลุ่มของคนที่มีระดับของทักษะและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและพัฒนาแผนการดำเนินงาน โดยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ และองค์ความรู้เรื่องการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัย
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายใน และภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่น และเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น
ชุมชนหมู่ 2 ตำบลคูขวาง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นพื้นที่ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของสังคม ในมิติทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม จนในที่สุดพัฒนาไปสู่ความทันสมัย (Modernization) ภายใต้กระแส (Globalization) ปัจจุบันนี้ อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ศึกษาได้เข้าสู่ยุคทุนนิยม (Capitalism) อย่างเต็มตัวเพราะมีโรงงานมากกว่า 38 แห่ง ที่รายล้อมทั้งใน และนอกชุมชน การเข้ามาของห้างสรรพสิ้นค้าขนาดใหญ่ ได้แก่ บิ๊กซี โลตัส ตลอดจนร้านสะดวกซื้อ ได้แก่ ร้าน 7-11 และ ร้าน 108 ช็อป เป็นต้น ทำให้มองเห็นผลสะท้อนถึงระบบทุนนิยมที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอาชีพ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยพบว่า ในพื้นที่มีการผลิตพริกแกงเพื่อขายให้กับกลุ่มลูกค้าทั่วไป เพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบในการทำอาหาร แต่ทว่ากระบวนการผลิตจะขึ้นอยู่กับการสั่งสินค้าของลูกค้าในแต่ละครั้ง จากการสำรวจเบื้องต้นทราบว่าบรรจุภัณฑ์นั้นยังไม่เป็นที่น่าสนใจ ดังนั้น นักวิจัย และชุมชนมีความเห็นพ้องร่วมกันที่จะต้องจัดให้มีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าของพริกแกงให้เป็นที่น่าสนใจยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้าในชุมชน และเพิ่มรายได้ต่อเดือนให้กับกลุ่มสตรี

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย learnoffice learnoffice เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2562 11:02 น.