การขับเคลื่อนมาตรการเชิงบวกในการจัดการน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลนครลำปาง ตามแนวทางการจัดการน้ำเสียชุมชนริมแม่น้ำวัง ช่วงไหลผ่านเทศบาลนครลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

การขับเคลื่อนมาตรการเชิงบวกในการจัดการน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลนครลำปาง ตามแนวทางการจัดการน้ำเสียชุมชนริมแม่น้ำวัง ช่วงไหลผ่านเทศบาลนครลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

ข้อมูลโครงการ

ชื่อนวัตกรรม การขับเคลื่อนมาตรการเชิงบวกในการจัดการน้ำเสียชุมชนในเขตเทศบาลนครลำปาง ตามแนวทางการจัดการน้ำเสียชุมชนริมแม่น้ำวัง ช่วงไหลผ่านเทศบาลนครลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
สถาบันอุดมศึกษาหลัก
หน่วยงานหลัก สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 2 ลำปาง
หน่วยงานร่วม สำนักงานเทศบาลนครลำปาง
ชื่อชุมชน ชุมชนย่านตลาดเก่า, ชุมชนเจริญประเทศ, ชุมชนท่ามะโอ และชุมชนอื่นๆ ริมแม่น้ำวังในเขตอ.เมือง
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายพัฒนะพงษ์ จันทร์คำ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 2 ลำปาง 13 ถนนป่าขาม 1 ตำบลหัวเวียง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา สำนักการช่าง เทศบาลนครลำปาง
การติดต่อ 087 677 1912
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ลำปาง เมืองลำปาง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
พื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง มีชุมชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นบริเวณริมแม่น้ำวังในช่วงไหลผ่านอำเภอเมือง
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
แม่น้ำวังมีสภาพความเสื่อมโทรมมากโดยเฉพาะช่วงไหลผ่านเทศบาลนครลำปาง
ข้อมูลประเด็นปัญหา
1. น้ำวังมีคุณภาพเสื่อมโทรม
2. น้ำเสียเกิดขึ้นค้างในท่อระบายน้ำส่งผลสภาพไม่น่าอยู่ในชุมชน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประชนชนต้องการเห็นน้ำวังในสภาพดี
ชุมชนต้องการความน่าอยู่จากสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

กระบวนการมีส่วนร่วมในการร่วมมือร่วมใจในการจัดการน้ำเสียของตนเองผ่านหลักวิชาการด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน

ประเภทนวัตกรรม

นวัตกรรมชุมชน , นวัตกรรมเกษตร , นวัตกรรมแก้จน , นวัตกรรมสังคม

รายละเอียดนวัตกรรม/หลักการและเหตุผล

ความร่วมมือของภาคครัวเรือนผู้ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ซึ่งต้องใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม โดยในการร่วมคิดและตัดสินใจในการจัดการน้ำเสียระดับครัวเรือน เป็นเรื่องยากที่จะทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมจริง ๆ และเป็นอิสระในการเลือกทำ เพราะแต่ละครัวเรือนมีศักยภาพ ฐานะ อำนาจในชุมชนแตกต่างกัน ปัจจัยในชุมชนบางประการเป็นอุปสรรคต่อการเลือกทำ บ้านแต่ละบ้านต่างมีมุมมองในการตัดสินคุณค่าในการดำเนินการนี้แตกต่างกัน ประสบการณ์ต่างกัน เหล่านี้อาจนำไปสู่การไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของบ้านเรือนอื่นๆ ดังนั้นการมีส่วนร่วมเป็นปรากฏการณ์ที่มีความหมายหลากหลาย เป็นความพยายามร่วมกันในชุมชนเพื่อแก้ปัญหาและบรรลุความสำเร็จในการผลักดันการจัดการน้ำเสียภาคครัวเรือนนี้ โดยเริ่มจากการ รับรู้ร่วมกัน คิดร่วมกัน และ กระทำร่วมกันในโครงการอย่างต่อเนื่อง เข้ามาใช้ในการดำเนินงานให้เทคนิคข้างต้น ซึมซับและเกิดกระบวนการที่สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้อย่างสัมฤทธิ์ผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การจัดการน้ำเสียชุมชน
  • มาตรการเชิงรุก
  • แม่น้ำวัง

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย pattanapong pattanapong เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 11:14 น.