สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 59-ข-029
ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้กลาง
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์
คณะทำงาน ? 1. นายเสณีจ่าวิสูตร 2 . นางนทกาญจน์อัพภาสกิจ 3. นายอำมรสุขวิน
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560
งบประมาณโครงการ 400,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 40
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

ชาวนา ผู้นำชุมชน องค์กรรัฐ

พื้นที่ดำเนินการ
จังหวัด พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.6177616273017,100.07278650999place

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

พัฒนายุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์

การจัดการข้อมูลข้าวพัทลุงโดยการทำ mapping
กระบวนการผลักดันเข้าสู่ระดับยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุง

พัฒนาฐานข้อมูลข้าวจังหวัดพัทลุง

การสังเคราะห์ข้อมูลและกระบวนการทำงานของโครงการรขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ประชุมคณะทำงาน 50,000.00 20 22 46,000.00 22 39,839.00 more_vert
28 พ.ค. 59 ประชุมคณะกรรมการแผนแม่บทข้าว 10 - -
18 มิ.ย. 59 ประชุมคณะทำงานเตรียมวางแผนกาขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ 20 - -
28 มิ.ย. 59 ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมเวทีรับฟังความคิดเห็นระดับอำเภอ 10 - -
4 ก.ค. 59 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น 10 - -
12 ก.ค. 59 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปเวทีโซนเหนือ 20 - -
9 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงานทำแผนยุทธศาสตร์ 20 - -
10 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนโครงการเสนอยุทธศาสตร์ จ.พัทลุง 20 - -
11 ส.ค. 59 ประชุมเสนอโครงการเข้าแผนยุทธศาสตร์เกษตรของ จ.พัทลุง 20 - -
15 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงาน 5 - -
16 ส.ค. 59 นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุม ทีมเศรษฐกิจและสังคม 5 - -
17 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการปรับกิจกรรมเพื่อทำแผนยุทธศาสตร์ 5 - -
18 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงานรวบรวมข้อมูลจัดทำ Project brief 20 - -
19 ส.ค. 59 ประชุมคณะทำงาน 10 - -
29 ส.ค. 59 การประชุมโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และ การเตรียมงานสร้างสุขกับทาง สจรส. 25 - -
2 ก.ย. 59 ประชุมคณะทำงานระดมความเห็นทำ Project idea 10 - -
5 ก.ย. 59 ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด 20 - -
6 ก.ย. 59 ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด 20 - -
12 ก.ย. 59 ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ 20 - -
30 ก.ย. 59 ประสานงาน สจรส. 1 - -
7 ต.ค. 59 ระดมความเห็นเสนอโครงการจังหวัด 20 - -
17 ต.ค. 59 ประสานงาน สจรส. 1 - -
22 มี.ค. 60 ประชุมคณะทำงาน 20 - -
2 จัดทำ Mapping 50,000.00 20 19 50,000.00 19 102,680.00 more_vert
30 มิ.ย. 59 จัดทำ Mapping สถานการณ์ข้าวเคมี และข้าวอินทรีย์ 20 - -
14 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน 30 - -
15 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน 20 - -
21 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าว อำเภอศรีนครินทร์ 20 - -
22 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม 20 - -
28 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง 20 - -
29 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง 20 - -
30 ม.ค. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอบางแก้ว 20 - -
4 ก.พ. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอปากพะยูน 20 - -
5 ก.พ. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอเขาชัยสน 20 - -
6 ก.พ. 60 Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด 20 - -
11 ก.พ. 60 Mapping โรงสีข้าว ป่าบอน 20 - -
12 ก.พ. 60 Mapping โรงสีข้าว อำเภอตะโหมด 20 - -
25 ก.พ. 60 Mapping การตลาดอำเภอควนขนุนและอำเภอเมือง 20 - -
26 ก.พ. 60 Mapping การตลาดป่าพะยอม ศรีบรรพต ศรีนครินทร์ 20 - -
3 มี.ค. 60 Mapping การตลาดอำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสน 20 - -
6 มี.ค. 60 Mapping การตลาดอำเภอตะโหมด อำเภอกงหรา 20 - -
10 มี.ค. 60 Mapping การตลาด อำเภอป่าบอน ปากพะยูน 20 - -
26 มิ.ย. 60 จัดทำรายงาน Mapping ข้อมูล 20 - -
3 ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ 100,000.00 50 5 83,000.00 5 66,086.00 more_vert
1 ก.ค. 59 ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนกลาง 50 - -
11 ก.ค. 59 ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนเหนือ 50 - -
21 ก.ค. 59 ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนใต้ 50 - -
28 ก.ค. 59 ประชุมเตรียมงานรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่ 50 - -
8 ส.ค. 59 ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่ 50 - -
4 จัดนิทรรศการงานสร้างสุข ธีม การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร 0.00 0 1 - 1 - more_vert
2 ก.ย. 59 จัดนิทรรศการงานสร้างสุข ธีม การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร 0 - -
5 กระบวนการผลักดันเข้าสู่ระดับยุทธศาสตร์จังหวัดพัทลุง 100,000.00 0 5 100,000.00 5 78,653.00 more_vert
24 มี.ค. 60 สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม 60 - -
29 มี.ค. 60 สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม 60 - -
4 เม.ย. 60 สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม 60 - -
25 เม.ย. 60 สร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) 20 - -
30 มิ.ย. 60 ประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง 50 - -
6 การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ 100,000.00 20 4 10,000.00 4 14,860.00 more_vert
26 พ.ค. 60 การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่นาอินทรย์ ต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน 20 - -
29 พ.ค. 60 การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่ อ.กงหรา 5 - -
1 มิ.ย. 60 การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอควนขนุน 20 - -
20 มิ.ย. 60 การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอบางแก้ว 20 - -
7 บริหารจัดการข้อมูล 0.00 0 1 111,000.00 1 98,052.00 more_vert
15 มิ.ย. 60 บริหารจัดการข้อมูล 0 - -
รวม 400,000.00 110 57 400,000.00 57 400,170.00

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:46:37
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:27:57 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

หน่วยงาน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงสถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพัทลุง สำนักงานชลประทานจังหวัดพัทลุง กลุ่มชาวนา กลุ่มชาวนาโรงนาหลานย่าแดง กลุ่มวิชชาลัยรวงข้าว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเขากลาง กลุ่มโรงเรียนชาวนา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • ชี้แจ้งเป้าหมายและแนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • บรรยายเรื่อง " ยุทธศาสตร์จังหวัดในการสนับสนุนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง"
  • นำเสนอแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงและแผนปฎิบัติการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 36 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

หน่วยงาน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุง  สถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพัทลุง สำนักงานชลประทานจังหวัดพัทลุง  ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง
กลุ่มชาวนา กลุ่มชาวนาโรงนาหลานย่าแดง กลุ่มวิชชาลัยรวงข้าว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเขากลาง กลุ่มโรงเรียนชาวนา

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ชี้แจ้งเป้าหมายและแนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • บรรยายเรื่อง " ยุทธศาสตร์จังหวัดในการสนับสนุนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง"
  • นำเสนอแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงและแผนปฎิบัติการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การปรับเปลี่ยน จากการทำนาเคมีมาเป็นนาอินทรีย์เป็นไปได้ยาก เกษตรกรต้องการพี่เลี้ยงและการสนับสนุน

มาตรฐาน
คาดหวังให้หน่วยงานราชการช่วยขับเคลื่อนพื้นที่

การจัดทำแผนเสนอต่อจังหวัด อุปสรรค - ความพร้อมของพื้นที่ในการทำกิจกรรม - เอกสารแบบแปลน, การขออนุญาต, การทำประชาพิจารณ์, กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เพิ่มเติมโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองคุณภาพ พันธุ์ข้าวพื้นเมือง ได้แก่ ข้าวเล็บนก ข้าวเหนียวดำหมอ
1.โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวอินทรีย์ - การพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นที่ต้นแบบ - การพัฒนาข้าวสังข์หยด การดำต้นเดียว - การอนุรักษ์พันธุ์ การใช้ภูมิปัญญาโดยการเก็บด้วย... ปัญหา เมล็ดพันธุ์ด้อยคุณภาพ ข้อเสนอแนะ การหว่านเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เสนอโครงการพัฒนาแปลงพันธุ์ข้าวอินทรีย์ชุมชน (ศูนย์พันธุ์ข้าวชุมชน)

กระบวนการคัดเมล็ดพันธุ์
- ทำแปลงข้าวชุมชนโดยขอการรับรองในการจำหน่าย - แบ่งพื้นที่โซนในการอนุรักษ์พันธุ์ข้าว
- 4 ปี มีการเปลี่ยนแปลงกลับมาคัดใหม่ - มีการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ข้าวพื้นเมือง

  1. โครงการพัฒนาสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์พันธุ์ข้าวชุมชน เช่น ข้าวเล็บนกที่กงหรา ข้าวเหนียวดำหมอที่เขาอ้อ
  2. โครงการสร้างอัตลักษณ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองเหนียวดำหมอเขาอ้อ
  3. โครงการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศูนย์โคกหนองนาโมเดลเพื่อความมั่นคงทางอาหาร (โครงการนิเวศน์นาข้าว)
  4. งานวิจัยห่วงโซ่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากข้าวสังข์หยด
  5. การพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับผิวดินเพื่อการทำนาอินทรีย์ในท้องถิ่น
  6. โครงการพัฒนาจุลินทรีย์วัตถุสำหรับนาข้าวอินทรีย์
  7. โครงการศูนย์พัฒนาจุลินทรีย์ท้องถิ่น
  8. โครงการสร้างนักวิจัยชาวนาชุมชน (การพัฒนาทรัพยากรบุคคล)
  9. โครงการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์
  10. โครงการเพิ่มตลาดชุมชนเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
    • การปลอมข้าวอินทรีย์ (คุณภาพข้าวสังข์หยดอินทรีย์ในชุมชน)
    • ตลาดข้าวสังข์หยดคุณภาพ
    • การประกันราคาข้าวอินทรีย์ (ข้าวเปลือก)
    • มีโรงสีข้าวตามโซนในจังหวัดพัทลุง
    • โรงผลิตแป้งข้าวสังข์หยดที่มีคุณภาพที่สุดในจังหวัดพัทลุง (โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์)
    • การจัดตลาดผลผลิตเกษตรอินทรีย์
  11. ส่งเสริมปรับเปลี่ยนการทำสวนยางมาเป็นการทำนาอินทรีย์
  12. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านส่งเสริมองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรทุกด้าน
  13. โครงการสืบทอดทายาทเกษตรกร
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 2 กรกฎาคม 2560 13:21:20
Project owner
แก้ไขโดย สุวิมล เกตุทอง เมื่อ 15 กรกฎาคม 2560 11:52:02 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำรายงาน Mapping ข้อมูล

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ทำรายงาน Mapping ข้อมูล

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

รายงาน  Mapping ข้อมูล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ทำรายงาน  Mapping ข้อมูล

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงาน  Mapping ข้อมูล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 2 กรกฎาคม 2560 12:55:02
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:25:08 น.

ชื่อกิจกรรม : การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอบางแก้ว

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้วกลุ่มสหกรณ์การเกษตรแม่บ้านภักดีร่วมใจจำกัดและกลุ่มชาวนาในอำเภอบางแก้ว

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว และกลุ่มเกษตรวิถีธรรมชาติ ตะโหมด  กลุ่มสหกรณ์การเกษตรแม่บ้านภักดีร่วมใจจำกัด

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรรวมตัวกันผลิตข้าวอินทรีย์เป็นนาแปลงใหญ่ (300 ไร่) มีทั้งหมดสมาชิก 46 คน เกษตรกรอยากให้มีโครงการพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ซึ่งอยากจะได้ข้าวพันธุ์ไข่มดริ้น ที่เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอำเภอบางแก้ว
- มีปัญหาราคาข้าวตกต่ำ เนื่องจากมีกลุ่มที่ผลิตข้าวอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น บางรายขายข้าวราคาต่ำ ทำให้ราคาข้าวอินทรีย์ต่ำกว่าราคามาตรฐาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
15 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 2 กรกฎาคม 2560 12:27:26
Project owner
แก้ไขโดย สุวิมล เกตุทอง เมื่อ 15 กรกฎาคม 2560 12:00:22 น.

ชื่อกิจกรรม : บริหารจัดการข้อมูล

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

บริหารจัดการข้อมูล

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บริหารจัดการข้อมูล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 12:40:37
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:23:39 น.

ชื่อกิจกรรม : การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอควนขนุน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มชาวนาวิชชาลัยรวงข้าว และเกษตรกรในตำบลพนางตุง 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มชาวนาวิชชาลัยรวงข้าว และเกษตรกรในตำบลพนางตุง

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรผลิตข้าวโดยการทำนาอินทรีย์ ช่วงแรกๆที่เริ่มทำนาอินทรีย์จะได้ผลผลิตน้อยกว่าการทำนาเคมี แต่เมื่อเริ่มทำต่อเนื่อง ผลผลิตจะได้ปริมาณที่เยอะขึ้น นิเวศเกษตร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 30 พฤษภาคม 2560 10:13:31
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:21:49 น.

ชื่อกิจกรรม : การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่ อ.กงหรา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

โรงเรียนชาวนา และเกษตรกรที่ทำนาในอำเภอกงหรา 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 6 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

โรงเรียนชาวนา และเกษตรกรที่ทำนาในอำเภอกงหราผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ต.ชะรัด

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์
เกษตรกรมีเป้าหมายเรื่องการทำนาอินทรีย์ แต่เนื่องจากมีปัจจัยหลายๆอย่างที่ทำให้ไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้ เช่น ปัญหาเรื่องหญ้า ปัญหาเรื่องหอยเชอรี่ ปัญหาเรื่องมีพื้นที่นาน้อย และบริเวณโดยรอบทำนาเคมี จึงไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 พฤษภาคม 2560 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560 19:44:38
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:14:11 น.

ชื่อกิจกรรม : การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่นาอินทรย์ ต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เกษตรกรที่ทำนาในตำบลพนมวังก์

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เกษตรกรที่ทำนาในตำบลพนมวังก์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์ แต่การเปลี่ยนแปลงอาจจะเกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากบริเวณรอบๆข้างทำนาเคมี และด้วยสภาวะแวดล้อมตามปัจจุบัน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 7 มีนาคม 2560 14:46:54
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:07:11 น.

ชื่อกิจกรรม : สร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง ประกอบไปด้วย กลุ่มทำนาอินทรีย์ กลุ่มผักอินทรีย์ กลุ่มพืชอินทรีย์ กลุ่มเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ กลุ่มไม้ดอกอินทรีย์ กลุ่มไม้ผลอินทรีย์ และกลุ่มสมุนไพรอินทรีย์

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  • ชี้แจงการสมัคร ข้อบังคับ การตรวจแปลง และกระบวนการทำร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
  • พิจารณาร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 54 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง ประกอบไปด้วย กลุ่มทำนาอินทรีย์ กลุ่มผักอินทรีย์ กลุ่มพืชอินทรีย์ กลุ่มเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ กลุ่มไม้ดอกอินทรีย์ กลุ่มไม้ผลอินทรีย์ และกลุ่มสมุนไพรอินทรีย์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ชี้แจงการสมัคร ข้อบังคับ การตรวจแปลง และกระบวนการทำร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
  • พิจารณาร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมมากขึ้น
  • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นทำให้เกิดแนวทางที่จะก่อให้มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนของกลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์ขึ้น
  • ได้ร่างสร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 12:30:25
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:04:40 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  3. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  4. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  5. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. กำนันตำบลนาปะขอ
  7. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว
  8. ประมงจังหวัดพัทลุง
    9.    เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  3. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  4. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  5. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. กำนันตำบลนาปะขอ
  7. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว
  8. ประมงจังหวัดพัทลุง
  9. เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 12:27:51
Project owner
แก้ไขโดย สุวิมล เกตุทอง เมื่อ 15 กรกฎาคม 2560 11:12:31 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  1. ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. นายอำเภอป่าบอน
  3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  4. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  7. กำนันตำบลโคกทราย
  8. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอป่าบอน
  9. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาป่าบอน
    10.  เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. นายอำเภอป่าบอน
  3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  4. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  7. กำนันตำบลโคกทราย
  8. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอป่าบอน
  9. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาป่าบอน
    10.  เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 7 มีนาคม 2560 14:48:51
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 16:01:09 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง 2. นายอำเภอบางแก้ว 3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน 4. นายกเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อและทีมงาน 5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน 6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน 7. ประธานกรรมการบริษัทประชารัฐรักสามัคคีพัทลุง (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด และทีมงาน 8. สำนักงานพัฒนาภาค 4 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย 9. ครูและนักเรียนโรงเรียนวัดรัตนวราราม 10. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว 11. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบางแก้ว 12. กำนัน ตำบลท่ามะเดื่อ 13.  เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  1. ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. นายอำเภอบางแก้ว
  3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  4. นายกเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อและทีมงาน
  5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  7. ประธานกรรมการบริษัทประชารัฐรักสามัคคีพัทลุง (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด และทีมงาน
  8. สำนักงานพัฒนาภาค 4 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย
  9. ครูและนักเรียนโรงเรียนวัดรัตนวราราม
  10. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว
  11. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบางแก้ว
  12. กำนัน ตำบลท่ามะเดื่อ
  13. เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่าฯ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 7 มีนาคม 2560 14:50:00
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:57:45 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

แผนงานยุทธศาสตร์

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเกษตรกรที่ทำนาอินทรีย์ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องกับการเเรื่องข้าว ประกอบไปด้วยศูนย์วิจัยข้าวจังหวัดพัทลุง สภาเกษตรกรจังหวัดพัทลุง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ และเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุง

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 11 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน ประกอบด้วย กลุ่มชาวนาโรงนาหลานย่าแดง วิชชาลัยรวงข้าว โรงเรียนชาวนา หน่วยงานจากสภาเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุง 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงชีแจ้งในที่ประชุมว่าขณะนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงนาแปลงใหญ่ เหลือแค่ 300 ไร่ สมาชิก 30 คน ซึ่งพัทลุงสามารถทำนาแปลงใหญ่ได้ง่ายขึ้น

การจำหน่ายข้าวอินทรีย์โดยส่วนใหญ่เกษตรจะจำหน่ายที่กลุ่ม แต่มีจุดด้อยคือไม่สมมารถจัดส่งเป็นปริมาณมากเลยได้ มีการเสนอให้หาแนวทางที่จะสามารถส่งผลผลิตเป็นปริมาณมาก ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:12:06
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:54:08 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping การตลาด อำเภอป่าบอน ปากพะยูน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping การตลาดข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:10:12
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:52:43 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping การตลาดอำเภอตะโหมด อำเภอกงหรา

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mappingการตลาดข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:09:34
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:51:06 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping การตลาดอำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping การตลาดข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:07:56
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:48:31 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping การตลาดป่าพะยอม ศรีบรรพต ศรีนครินทร์

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping การตลาดข้าวอินทรีย์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560 13:07:08
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:45:11 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping การตลาดอำเภอควนขนุนและอำเภอเมือง

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping การตลาดข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
12 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2560 19:52:29
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:43:49 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping โรงสีข้าว อำเภอตะโหมด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping โรงสีข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 26 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวันและเก็บพิกัด GPS

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอตะโหมด พบว่าตำบลตะโหมดและตำบลคลองใหญ่มีโรงสีข้าวทั้งหมด 8 โรงสี และอำเภอป่าบอน ในตำบลโคกทราย ทุ่งนารี่ ป่าบอนและวังใหม่ มีโรงสีข้าว 18 โรงสี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
11 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2560 22:30:03
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:41:33 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping โรงสีข้าว ป่าบอน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mappingโรงสีข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 16 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอปากพะยูนและอำเภอป่าบอน อำเภอปากพะยูนพบว่าตำบลหารเทามีโรงสี 4 โรงสี อำเภอป่าบอน ตำบลโคกทรายมีโรงสี 12 โรงสี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยสุวิมล เกตุทองสุวิมล เกตุทองเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2560 22:30:39
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 กันยายน 2560 15:39:58 น.

ชื่อกิจกรรม : Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด

  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดทำ Mapping โรงสีข้าว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอกงหราและตะโหมด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด อำเภอกงหราลงสำรวจคลองทรายขาวมีโรงสีข้าว 4 โรง
อำเภอตะโหมดลงสำรวจตำบลแม่ขรีมีโรงสีข้าว 1 โรง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-