สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 61-ข-031
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้กลาง
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชุติมา รอดเนียม
คณะทำงาน ? 1 อาจารย์ชุติมา รอดเนียม 2. อาจารย์ปาลีรัตน์ วงศ์ฤทธิ๋ 3. อาจารย์ ดร.พิมาน ธีระรัตนสุนทร 4. อาจารย์ภูวศินทร์ บัวเกษ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2562
งบประมาณโครงการ 165,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 40
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ (สนง.เกษตรและสหกรณ์ สนง.สาธารณสุขจังหวัด)
เจ้าหน้าที่ภาคท้องถิ่น จากหน่วยงานระดับท้องถิ่น 4 แห่ง (อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง) แกนนำชุมชนที่เกี่ยวข้องด้านความมั่นคงทางอาหาร 4 แห่ง (อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง)

พื้นที่ดำเนินการ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง
จังหวัด นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.565649880281,99.887001695605place

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความโดดเด่นในกระบวนการป้องกันภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารในภูมินิเวศน์ชายฝั่งทะเล โดยใช้พระราชกำหนดการประมงบังคับใช้ พ.ศ. 2558และ การทำประมงผิดกฎหมาย (Illegal Unreported and Un-regulated Fishing: IUU) แต่โครงสร้างการเจริญเติบโตภาคเกษตรกรรมและแหล่งผลิตอาหารมีแนวโน้มลดลง พื้นที่นาลดลง จำนวนแรงงานภาคเกษตรลดลง พื้นที่สวนยางสวนปาล์มเพิ่ม มีการทำเกษตรเชิงพาณิชย์และเกษตรพันธะสัญญาเป็นส่วนใหญ่ ความหลากหลายทางชีวภาพน้อยลง และได้รับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาภัยแล้ง เป็นต้นข้อมูลการใช้พื้นที่ทำการเกษตรของนครศรีธรรมราช เนื้อที่ทั้งหมด 2,896,204 ไร่ แบ่งเป็นนาข้าว 383,816 ไร่ พื้นที่สวนไม้ผล 2,179,043 ไร่ พื้นที่สวนผัก ไม้ประดับ 27,038 ไร่ และ พื้นที่ใช้ประโยชน์ทางเกษตรอื่น ๆ 306,307 ไร่ และพบว่า สถานการณ์การทำข้าวนาปี ของปี 2558 มีเนื้อที่เพาะปลูก 291,665 ไร่ ลดลงจาก 323,407 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 9.81 % สถานการณ์การผลิตปาล์มน้ำมัน ปี 2558 เนื้อที่ให้ผล 351,370 ไร่ เพิ่มจาก 326,626 ไร่ในปี 2556 คิดเป็น 7.04 % และ สถานการณ์การผลิตยางพารายืนต้น ปี 2558 เนื้อที่ 1,847,711 ไร่ ลดลงจาก 1,848,296 ไร่ ในปี 2556 คิดเป็น 0.03 % (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558)

อย่างไรก็ตามหลายพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ให้ความสนใจด้านความมั่นคงทางอาหาร ทั้งนี้การดำเนินงานขึ้นอยู่กับสภาพบริบทแต่ละพื้นที่ และกิจกรรมที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการจัดระบบการวางแผนงานและขับเคลื่อนนโยบายเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับชุมชน ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงตระหนักถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนแผนงานระบบอาหารอย่างมีส่วนร่วม โดยใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อวิเคราะห์นโยบายที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่มีศักยภาพทั้งเชิงบวก และเชิงลบต่อสุขภาพของประชาชน และนำไปสู่การวางแผนงานเชิงนโยบาย

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

กรอบแนวคิดการศึกษาครั้งนี้ ประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย6 ขั้นตอน คือ การกลั่นกรอง การกำหนดขอบเขต การประเมินผลกระทบ การทบทวนรายงานการประเมิน การตัดสินใจและการติดตามประเมินผล ในระบบความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ทั้ง 4 มิติ คือ ความพอเพียงของปริมาณอาหาร การเข้าถึงอาหาร การใช้ประโยชน์ด้านอาหาร และการมีเสถียรภาพอาหาร

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช
  1. เกิดการจัดการข้อมูลด้านแผนงาน ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหาร
  2. เกิดการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทั้ง 4 พื้นที่
  3. เกิดเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร
  1. เกิดตัวชี้วัดที่ระบุถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารใน 4 ด้าน คือ การมีอาหารพอเพียง การเข้าถืงอาหาร การมีเสถียรภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์
เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร
  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
  2. เกิดการทำงานเชิงประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน
  3. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 1. ขออนุมัติจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 1,000.00 40 1 - 1 - more_vert
27 มิ.ย. 61 1. ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 4 - -
2 2. การกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการหรือกิจกรรม 11,300.00 40 1 - 1 - more_vert
19 มิ.ย. 61 ประชุมเพื่อชี้แจงการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 10 - -
3 3. การกำหนดขอบเขตการศึกษาและแนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยสาธารณะ 30,000.00 40 1 40,993.00 1 40,993.00 more_vert
13 พ.ค. 62 การประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช 39 - -
4 4. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ 72,900.00 40 3 54,215.00 3 54,215.00 more_vert
1 ก.พ. 62 การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช 8 - -
31 พ.ค. 62 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ โดยการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน จ.นครศรีธรรมราช 26 - -
4 มิ.ย. 62 ประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์อาหาร จ.นครศรีธรรมราช 49 - -
5 5. การทบทวนร่างรายงานการศึกษา และวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพโดยสาธารณะ 32,800.00 40 3 47,440.00 3 47,440.00 more_vert
11 ก.ย. 61 การทบทวนวรรณกรรมและจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพHIA 8 - -
21 พ.ค. 62 ถอดทบเรียนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช 4 - -
25-26 มิ.ย. 62 การนำเสนอข้อมูลถอดบทเรียน การทำHIA Forum 8 - -
6 6. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 2,000.00 4 1 6,914.00 1 6,914.00 more_vert
30 ส.ค. 62 รายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช 4 - -
7 7. ค่าธรรมเนียมมหาวิทยาลัย 15,000.00 4 1 15,438.00 1 16,500.00 more_vert
17 ธ.ค. 61 ค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย 4 - -
รวม 165,000.00 208 11 165,000.00 11 166,062.00

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
30 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 12:04:30
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 15:51:45 น.

ชื่อกิจกรรม : รายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  • เพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. จัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
  2. จัดทำรายงานโครงการวิจัย
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช ส่งให้ สจรส.ม.อ.
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
25 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 11:56:54
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 15:50:14 น.

ชื่อกิจกรรม : การนำเสนอข้อมูลถอดบทเรียน การทำHIA Forum

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  • เพื่อสรุปข้อมูลจากเวทีนำเสนอผลการประเมินแผนยุทธศาสตร์อาหารในระดับตำบล
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. จัดเวทีทบทวน เวทีคืนข้อมูล โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. จัดเวทีทบทวน เวทีคืนข้อมูล โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้สรุปและสังเคราะห์ข้อมูลการจัดเวทีที่ผ่านมา มีการรวบรวมข้อมูล และเตรียมการจัดทำรายงาน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 11:51:15
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 15:37:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์อาหาร จ.นครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • รอง ผจว.นครศรีธรรมราช
  • อาจารย์
  • เภสัชกร
  • นักวิชาการสาธารณสุข
  • สจรส.มอ.

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐ ท้องถิ่น 4 แห่ง และผู้ดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
  2. สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบงานความมั่นคงทางอาหาร
  3. รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 49 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • รอง ผจว.นครศรีธรรมราช
  • อาจารย์
  • เภสัชกร
  • นักวิชาการสาธารณสุข
  • สจรส.มอ.

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

กำหนดการประชุมคณะทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช วันอังคารที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช

  • ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
  • ๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. เปิดการประชุม ทิศทางการทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย นายวิรัตน์ รักษ์พันธ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
  • ๐๙.๒๐ - ๐๙.๕๐ น. นำเสนอภาพรวมผลการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย นายแพทย์จรัสพงษ์ สุขกรี นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
  • ๐๙.๕๐ - ๑๐.๓๐ น. นำเสนอผลการประเมินยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 4 พื้นที่ คือ อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.ไสหร้า และเทศบาลจันดี อ.ฉวาง โดย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ ผู้แทนจาก 4 ตำบล
  • ๑๐.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. ระดมความเห็นแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย คณะทำงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
  • ๑๒.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. สรุปและปิดการประชุม โดย ฝ่ายเลขานุการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อเสนอต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ดังนี้

๑. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จัดทำ Mapping ข้อมูลแหล่งอาหารที่เพียงพอในภาวะปกติและช่วงวิกฤต แบ่งออกเป็นพื้นที่ทางทะเล พื้นที่นา พื้นที่สวน ข้าว ๒. ยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จะรับทำในยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านอาหารปลอดภัย ในงาน ดังนี้ - เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ปนเปื้อนในตลาด - ทำเรื่องตลาดปลอดภัยร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเริ่มด้วยการใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล
- การตรวจสอบสารตกค้างในพืชผักผลไม้แหล่งตลาดหัวอิฐ ต้องบูรณาการทั้งชุมชน รพ.สต. สร้างจุดแข็งด้านการบูรณาการให้ทุกคนมีสุขภาพดี ทางหอการค้ายินดีจะผลักดันโครงการนี้ ๓. สปสช.มีงบกองทุนตำบลที่เหลือและสามารถนำมาทำเรื่องระบบอาหารใน ๓ ประเด็นได้ ๔. ข้อเสนอแนะต่อภาคประชาสังคมต่อการใช้งบกองทุนตำบล คือ การสื่อสารของคณะกรรมการกองทุนกับภาคประชาชนในพื้นที่ยังไม่เข้าใจตรงกัน โครงการกองทุนตำบลส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องสุขภาพเป็นหลัก จึงมีข้อเสนอต่อท้องถิ่นจังหวัดหาวิธีการสร้างการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน ๕. ใช้กลไกสมัชชาสุขภาพและธรรมนูญสุขภาพขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อาหารทั้ง ๓ ประเด็น โดยคณะกรรมการชุดอำนวยการจะนำร่องขับเคลื่อนทั้ง ๒๖ อำเภอ ๖. การแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ มีกลไก คือ
- ระดับตำบล ใช้งบกองทุนตำบล พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการเพื่อขอใช้งบกองทุนตำบล - ระดับอำเภอ ดำเนินงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนำเรื่องยุทธศาสตร์ระบบอาหารเข้าสู่แผนระดับจังหวัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
31 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 11:28:41
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 15:15:45 น.

ชื่อกิจกรรม : การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ โดยการจัดการระบบความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน จ.นครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ต.หูล่อง,ต.เขาแก้ว,ต.จันดี,ต.ไสหร้า

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐ ท้องถิ่น 4 แห่ง และผู้ดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
  2. สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบงานความมั่นคงทางอาหาร
  3. รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 26 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ตัวแทนพื้นที่ ต.หูล่อง,ต.เขาแก้ว,ต.จันดี,ต.ไสหร้า

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐ ท้องถิ่น 4 แห่ง และผู้ดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
  2. สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบงานความมั่นคงทางอาหาร
  3. รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เก็บข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นความมันคงทางอาหาร เพื่อนำข้อมูลที่ได้ประมวลเป็นข้อมูลนำเสนอในเวทีระดับจังหวัด ในวันที่ 4 มิ.ย.62

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
21 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 11:17:40
Project trainer
แก้ไขโดย areeandaman เมื่อ 12 กันยายน 2562 11:19:07 น.

ชื่อกิจกรรม : ถอดทบเรียนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

ถอดทบเรียนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-ทีมนักวิจัย -สจรส.มอ.

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. จัดเวทีทบทวน เวทีคืนข้อมูล โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-ทีมนักวิจัย -สจรส.มอ.

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

-

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
13 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 11:03:07
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 15:04:51 น.

ชื่อกิจกรรม : การประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารระดับตำบลใน จ.นครศรีธรรมราช

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • เจ้าหน้าที่อปท.
  • ครู,
  • อสม.
  • สจรส.มอ.
  • นักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเรื่องความมั่นคงทางอาหาร เพื่อกำหนดปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ด้าน คน สิ่งแวดล้อม กลไก
  2. พัฒนาตัวชี้วัดที่ระบุถึงความมั่นคงทางอาหาร 4 ด้าน คือ พอเพียง เข้าถึงอาหาร เสถียรภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์ และเครื่องมือเพื่อประเมินผลทางสุขภาพใน 3 ระดับ คือ ระดับภาครัฐ ระดับท้องถิ่น และระดับชุมชน
  3. จัดประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงตัวชี้วัดและเครื่องมือ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 39 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

-เจ้าหน้าที่อปท. -ครู, -อสม. -สจรส.มอ. -นักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวทีการประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2562 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ โรงแรมทวินโลตัส อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช มีกำหนดการ

  • 12.30 – 13.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมเวที
  • 13.00 – 13.30 น. กล่าวต้อนรับ ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวทีประเมินยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ อาจารย์ชุติมา รอดเนียม สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • 13.30 – 15.00 น. แบ่งกลุ่มตามพื้นที่ให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะตามแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 ตำบล ได้แก่ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี
  • 15.00 – 16.00 น. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์และข้อเสนอแนะต่อแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร
  • 16.00 – 16.30 น. สรุปการผลการประเมินเวที
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ผลการประเมินแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารทั้ง 4 ตำบล พร้อมข้อเสนอแผนงานโครงการที่จะนำเข้าในเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนระดับจังหวัดในวันที่ 4 มิถุนายน 62 ณ ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 12:09:08
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 14:46:53 น.

ชื่อกิจกรรม : การพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพความมั่นคงทางอาหาร จ.นครศรีธรรมราช

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์
  • เพื่อพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช
กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. ประชุมกลุ่มย่อยผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐ ท้องถิ่น 4 แห่ง และผู้ดำเนินโครงการชุมชนน่าอยู่
  2. สัมภาษณ์เชิงลึกผู้รับผิดชอบงานความมั่นคงทางอาหาร
  3. รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  • ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาเครื่องมือ ตัวชี้วัดสำหรับเก็บข้อมูลการประเมิน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เครื่องมือการเก็บข้อมูล สำหรับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และจะส่งให้ผุ้ทรงคุณวุฒิได้ให้ข้อเสนอแนะก่อนเก้บข้อมูล
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
17 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 10:53:25
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 14:43:51 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อจ่ายค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จ่ายค่าธรรมเนียมมหาวิทยาลัย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 4 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

จ่ายค่าธรรมเนียมบริหารจัดการมหาวิทยาลัย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มหาวิทยาลัยได้รับเงินเป็นที่เรียบร้อย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
11 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยareeandamanareeandamanเมื่อ 12 กันยายน 2562 10:43:47
Project trainer
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 14:37:07 น.

ชื่อกิจกรรม : การทบทวนวรรณกรรมและจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพHIA

คุณภาพกิจกรรม : เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวนวรรณกรรมและจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. จัดเวทีทบทวน เวทีคืนข้อมูล โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านความมั่นคงทางอาหาร
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 8 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมนักวิจัย

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA และ สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
27 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยChutima RodniamChutima Rodniamเมื่อ 19 มิถุนายน 2561 12:57:17
Project owner
แก้ไขโดย Aitsara เมื่อ 28 สิงหาคม 2561 16:27:54 น.

ชื่อกิจกรรม : 1. ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการขอจริยธรรมการวิจัย

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ประชุมคณะทำงาน ม.วลัยลักษณ์

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เตรียมเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อขอรับรองครั้งแรก
  2. แก้ไขเอกสารตามคำแนะนำจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
  3. ประชุมคณะทำงานในทีมความมั่นคงทางอาหาร


กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

  • คณะทำงานจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ประชุมเตรียมเอกสารโครงการร่วมกับคณะทำงาน
  2. ยื่นเอกสารประกอบการขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการวิจัยผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่ (ปิดงวดแล้ว)
โพสท์โดยChutima RodniamChutima Rodniamเมื่อ 19 มิถุนายน 2561 17:08:44
Project owner
แก้ไขโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ เมื่อ 25 ตุลาคม 2562 14:29:45 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเพื่อชี้แจงการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ

  • photo คณะทำงานวิจัย และทีมวิทยากรจาก สจรส.มอคณะทำงานวิจัย และทีมวิทยากรจาก สจรส.มอ
  • photo การจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์การจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณาจารย์สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ และสำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

  1. เพื่อเตรียมความรู้และความเข้าใจด้านการบริหารจัดการโครงการให้แก่ผู้ทำโครงการวิจัย
  2. เพื่อปฏิบัติและลงข้อมูลในระบบออนไลน์จาก เวปไซต์ http://hsmi2.psu.ac.th/scac/
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณาจารย์ในสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์จำนวน 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

10.00-11.00 น. วิทยากรจากทีม สจรส. ม.อ. แนะนำเวปไซต์ศูนย์วิชาการการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) http://hsmi2.psu.ac.th/scac/และการใช้คู่มือปฏิบัติการของระบบออนไลน์
11.00-12.00 น. นักวิจัยสมัครสมาชิกและเข้าระบบข้อมูล โดยผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ทั้ง 3 โครงการ 13.00-14.00 น. นักวิจัยลงบันทึกข้อมูล

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดความรู้ ความเข้าใจในการลงบันทึกข้อมูลและหลักการบริหารจัดการโครงการ
  2. สามารถบันทึกข้อมูลกิจกรรมของโครงการในระบบ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-