PSU UNDP

(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา
ชุดโครงการ (UNDP)โครงการพัฒนาแผนป้องกันและฟื้นฟูหลังวิกฤตระดับท้องถิ่น ฯ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดวงฤดี มีแวว
คณะทำงาน ?
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณโครงการ 80,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 0
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
จังหวัด ยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.521469,101.317928place

หลักการและเหตุผล

ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สังคมไทยและสังคมโลกกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ หนึ่งในความวิตกกังวลของผู้คนคือประเด็นของความปลอดภัยในสุขอนามัยและเศรษฐกิจทั่วโลกที่กำลงย่ำแย่ หนึ่งในหนทางการสร้างความอยู่รอดคือการพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด และเสริมสร้างความพอเพียงระดับครัวเรือน โดยต้องสร้างความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดสารพิษต่างๆ เพื่อลดค่าใช้จ่าย และสร้างความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรมกันระหว่างคนในชุมชนและในครัวเรือน เพื่อฝ่าวิกฤติในครั้งนี้ให้ได้และตั้งแต่การระบาดของไวรัสโคโรน่า-19 ครบปีสถิติของผู้ได้รับผลกระทบมีทั้งครอบครัว ชุมชน โรงเรียน เด็ก และเยาวชนผู้สูงอายุผู้พิการผู้อยากไร้ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง หากมีคนในชุมชนติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19จำเป็นจะต้องปิดหมู่บ้านการขาดแคลนอาหารย่อมเป็นปัญหาหลักแน่นอนการสร้างความเข็มแข็งให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มอาชีพสามารถเป็นต้นแบบที่จะมารวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เกิดขึ้นสามารถยืนหยัด สร้างผลผลิต แหล่งอาหาร เช่นปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ เป็นคลังอาหารของคนในหมู่บ้าน ในชุมชนเพื่อให้ทุกคนได้ผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปด้วยกัน

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย

ครัวเรือนในชุมชนมีอาหารบริโภคครบ 5 หมู่

สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน

 

มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร

 

เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย

กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ดีและปลอดภัยส่งเสริมพัฒนาการและเสริมสร้างการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป

ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

เพิ่มศักยภาพในการจัดทำอาหารให้กลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้มีอาหารที่เพียงพอถูกสุขลักษณะและปลอดภัย

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

21 มิ.ย. 2564 ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน 150 20000.00
21 มิ.ย. 2564 ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด 20 20000.00
21 มิ.ย. 2564 ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด 200 20000.00
30 ส.ค. 2564 เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์ 256 20000.00
รวม 0.00 0 4 80,000.00 4 80,000.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (80,000.00 บาท)

คำเตือน : งบประมาณของโครงการ (80,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
31 สิงหาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp4psuundp4เมื่อ 31 สิงหาคม 2564 15:16:53
Project owner
แก้ไขโดย psuundp4 เมื่อ 31 สิงหาคม 2564 15:26:32 น.

ชื่อกิจกรรม : เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

.ประชุมคณะกรรมการ 2 .จัดทำมุ้งบังแดดสำหรับแปลงเกษตร 3. แบ่งกลุ่มเกษตรสำหรับรับผิดชอบแปลงเกษตรแต่ละแปลง 4. ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายแก่สหกรณ์โรงเรียน เพื่อขายต่อให้กับโรงอาหาร หากยังมีเหลืออีกก็จะเอาไปตั้งตามร้านค้าในชุมชนสมาชิก ทำให้ชุมชนและโรงเรียนมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ กำไรที่ได้แบ่งเอามาต่อยอดในการบริหารและซื้อเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์ต่อไป

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิตผักปลอดสารพิษ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
22 มิถุนายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp4psuundp4เมื่อ 31 สิงหาคม 2564 15:30:35
Project owner

ชื่อกิจกรรม : ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมคณะเยาวชน 2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง 3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจก กลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก หมู่ 11 ชื่อกิจกรรม ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก  เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด         ประมาณการ ตามรายละเอียดดังนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน  2 วันๆละ 1,000 บาท                  เป็นเงิน 2,000บาท - ค่าไม้ไผ่ 83 แท่งๆละ 40 บาท                                    เป็นเงิน 3,330 บาท - หญ้าแห้งอัดก้อน 20 ก้อนละ 80 บาท                          เป็นเงิน 1,600 บาท - ค่าอาหารว่าง จำนวน 15 คนๆละ 40 บาท จำนวน 2 วัน    เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 80 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์มะเขือจำนวน 30 ซองละ 20 บาท                  เป็นเงิน 600 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจำนวน 40 ซองๆละ 25 บาท            เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์ผักกรีนโอ๊ค จำนวน 20 ซองๆละ 35 บาท          เป็นเงิน 700บาท - ค่าจุลินทรีย์ EM จำนวน 20 ลิตรๆละ 100 บาท                เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่ากากน้ำตาลจำนวน 40 ลิตรๆละ 50 บาท                      เป็นเงิน 2,000 บาท - ปุ๋ยอินทรีย์สำเร็จรูปจำนวน 6 กระสอบๆละ 445                เป็นเงิน 2,670 บาท - ค่าจ้างผู้ช่วยปฎิบัติงาน                                                เป็นเงิน 500 บาท                           รวมยอดทั้งสิ้น 20,000 บาท


วิธีการดำเนินงาน 1.ประชุมคณะเยาวชน 2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง 3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจกให้กับผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุจากนั้นเอามาจำหน่ายต่อไปเพื่อขยายโอกาสให้กับกลุ่มเยาวชนหางไกลสิ่งเสพติดหันมาเรียนรู้ด้านเกษตร โดยให้เมล็ดพันธุ์ผักให้นำกลับไปปลูกที่บ้าน ต่อไป ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายสมาชิกกลุ่มมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ มีอาหารที่เพียงพอ เกิดรายได้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน/กำไรที่ได้แบ่งให้กับสมาชิกกลุ่ม/เก็บทุนไว้ซื้อเมล็ดพันธุ์ผักในรอบต่อไป 4. พัฒนาพื้นที่ต้นแบบของเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติดโดยออกแบบตามหลักภูมิสังคมพัฒนาฐานเรียนรู้ให้แก่ชุมชนผู้สูงอายุในโอกาสและเด็กๆ 5.สรุปผลการทำงานและติดตามผลงานของกลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก ม.11 ต่อไป

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ที่ว่างงานได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สร้างงานสร้างรายได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
21 มิถุนายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp4psuundp4เมื่อ 10 สิงหาคม 2564 13:29:00
Project owner

ชื่อกิจกรรม : ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. ปลูกผักสานครัว , เพาะเห็ดฟาง , เลี้ยงไก่ไข่ , ทำปุ๋ยหมักอินทรีย์
  3. จำหน่ายผลผลิตราคาถูกให้กับชาวบ้านในชุมชน
  4. แจกจ่ายผลผลิตให้กับผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , โรงเรียนตาดีกา , กลุ่มบ้านสัมผัสผู้ป่วยโควิด , บ้านกักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดความร่วมมือร่วมแรงกันของชาวบ้านในชุมชน  กลุ่มสตรีหญิงหม้ายคนด้อยโอกาสในพื้นที่ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน  ผลผลิตที่ได้ ได้ขายในราคาที่ถูกให้กับชาวบ้านและแจกจ่ายให้กับกลุ่มเปราะบาง
ผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  กลุ่มบ้านผู้กักตัวที่มีฐานะยากจน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
21 มิถุนายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยpsuundp4psuundp4เมื่อ 31 สิงหาคม 2564 15:20:01
Project owner
แก้ไขโดย psuundp4 เมื่อ 31 สิงหาคม 2564 15:25:50 น.

ชื่อกิจกรรม : ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ประชุมหารือในกลุ่มเยาชน (โดยเฉพาะเยาวชนที่ต้องออกจากการเรียนภาคบังคับ และไม่ได้เรียนต่อ) จำนวน 5 คน 2.หาบุคลกรเป็นที่ปรึกษาเพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชนบ้านกาโสดเพื่อสร้างอาชีพ
3.ขอความอนุเคราะห์พื้นที่ในการจัดสร้างบ่อปูนซีเมนต์เพื่อการเลี้ยงปลาดุก 4.จัดอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม การเลี้ยงปลาดุก 5.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างบ่อปูนซีเมนต์สร้างบ่อปูนซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกพร้อมเชื่อมโครงหลังคาเหล็กติดสแลนบังแดดและซื้อพันธ์ปลาดุกอาหารปลาดุก

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด  ผลผลิตที่ได้นำมาขายสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชน  ชาวบ้านในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ราคาถูกและปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.