สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง 60-ข-083
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
ชุดโครงการ แผนงานโซนใต้อันดามัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไมตรี จงไกรจักร์
คณะทำงาน ? นายศักดา พรรณ์รังสี.นางชาตรี มูลสาร.นายวันชัย จิตต์เจริญ.นายวิทวัส เทพสง .น.ส.อรวรรณ หาญทะเล.นายกำธร ขันธ์ธรรม.นายประยูร จงไกรจักร์.น.ส.วารี ฉ่ำมาลี.นายทรงวุฒิ อินทรสวัสดิ์.นางภาวนา มณี.น.ส.อารยา ช่อบุญ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ธันวาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561
งบประมาณโครงการ 800,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 90
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

จังหวัดระนอง จำนวน 30 คน.จังหวัดภูเก็ต จำนวน 30 คน.จังหวัดพังงา จำนวน 30 คน

พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดระนอง.จังหวัดภูเก็ต.จังหวัดพังงา
จังหวัด พังงา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.9504368350294,98.422393798828place

หลักการและเหตุผล

เหตุภัยพิบัติต่างๆ ในประเทศไทย เกิดมากขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆทั้ง เหตุภัยพิบัติสึนามิ ดินโคลนถล่ม ไฟไหม้ป่า น้ำท่วมจากเหตุฝนตกมากน้ำล้นเขื่อนน้ำป่าไหลหลาก พายุพัดถล่มบ้านเรือนรวมทั้งภัยพิบัติจากเหตุความรุนแรงทางการเมืองและสังคม เป็นต้นซึ่งสร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินอย่างประเมินค่ามิได้ และ ภัยพิบัติจึงมิใช่เรื่องไกลตัวสำหรับคนไทยอีกต่อไป
บทเรียนสำคัญจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ทั้งภัยพิบัติสึนามิ และภัยน้ำท่วม คือ ผู้ที่ประสบภัยจะรอรับบริการอย่างเดียวไม่ได้เพราะมีจะผู้เดือดร้อนจำนวนมากและในบรรดาผู้เดือดร้อนมีระดับที่แตกต่างกัน มีทั้งผู้ที่ช่วยตนเองไม่ได้ผู้ที่ช่วยตนเองได้ซึ่งพร้อมที่จะช่วยคนอื่นได้ด้วย ชุมชนจึงเป็นด่านแรก ที่จะได้รับผลกระทบในขณะที่การจัดการภัยพิบัติที่มาจากศูนย์กลางไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชนได้ทั้งหมด รวมทั้งอาจละเลยศักยภาพทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้วในชุมชนดังนั้น การจัดการความเสี่ยงโดยชุมชนเอง จึงเป็นทางเลือกหลักในการเติมช่องว่าง ยุทธศาสตร์ชาติได้ให้ความสำคัญกับการจัดการภัยพิบัติ โดยมีแผนการเร่งอนุรักษ์ฟื้นฟูและสร้างความมั้นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และบริหารจัดการน้ำ ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งยกระดับความสามารถในการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปรงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ ลดการใช้พลังงาน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    สำหรับภาคประชาชนเองก็มีการตื่นตัวในการจัดการภัยพิบัติโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในหลากหลายรูปแบบ รวมทั้งเกิดกระบวนการสร้างอาสาสมัครภัยพิบัติ 6 เครือข่าย ได้แก่ เครือข่ายชุมชนจังหวัดพังงา เครือข่ายชุมชนตำบลท่าหิน จังหวัดสงขลา เครือข่ายชุมชนจังหวัดภูเก็ต มีศูนย์มิตรไมตรี เครือข่ายสิ่งแวดล้อมปทุมธานี เครือข่ายชุมชนอุบลราชธานีและเครือข่ายรักษ์อ่าวไทยตอนบนคือ บางขุนเทียน กทม. บ้านขุนสมุทรจีน บ้านบางปู จังหวัดสมุทรปราการ นอกจากนี้ เครือข่ายได้มีข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติระดับนโยบาย ได้แก่ การดำเนินงานตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 ข้อเสนอเพื่อปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนร่วมคณะทำงานปฎิรูป
พื้นที่จังหวัดพังงา เป็นพื้นที่ที่มีการขับเคลื่อนชุมชนในการจัดการภัยพิบัติ มาอย่างต่อเนื่องแล้ว และมีพื้นที่นำร่องแล้วทั้ง ๘ อำเภอ มีระบบการประสานงานของเครือข่ายการจัดการภัยพิบัติชุมชน ที่สามารถเคลื่อนงานได้ระดับหนึ่ง แต่สิ่งที่จังหวัดพังงามีเป้าหมายคือการขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยงานนโยบายในจังหวัดพังงา ส่วนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดระนอง ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่มีเครือข่ายในการจัดการภัยพิบัติ เพื่อสร้างสุขภาวะ ของคนในพื้นที่ให้มีความพร้อม ความตระหนักถึงการจัดการภัยพิบัติต้องสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยสนับสนุนองค์ความรู้เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยต้องมุ่งเสริมสร้างกลไกความร่วมมือระหว่างภาคประชาสังคม และท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐ โดยพัฒนาอย่างเป็นกระบวนการทั้งการเชื่อมโยงความรู้ การจัดการข้อมูลสารสนเทศ ระบบการควบคุมสั่งการ ระบบการสนับสนุนทรัพยากร ระบบเฝ้าระวัง และระบบสาธารณสุข เป็นต้น จังหวัดพังงายังพีพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลในพื้นที่และเสี่ยงต่อภัยพิบัติ ที่ผ่านมาเครือข่ายได้ร่วมกันฟื้นฟูและจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน ในการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอยู่บ้างแต่ในชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ ยังมีข้อจำกัดด้านเศรษฐกิจชุมชน และเป็นชุมชนที่มีนักท่องเที่ยวลงไปดูวิถีชีวิต แต่ชุมชนไม่ได้มีโอกาสจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเอง ทั้งยังขาดความรู้ ความเข้าใจ อยู่ด้วย ดังนั้นสมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสุข ซึ่งเป็นองค์กรที่มุ่งเสริมความเข้มแข็งองค์กรชุมชน และปฏิบัติการในพื้นที่ชุมชน ตำบล โดยเฉพาะเรื่องการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งมีชุมชนบ้านน้ำเค็มเป็นศูนย์เรียนรู้ให้เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา ได้เกิดกระบวนการเตรียมพร้อมชุมชนรับมือภัยพิบัติ ทั้งในระดับชุมชน และตำบลนำร่อง จนถือเป็นจังหวัดนำร่อง เพื่อขยายไปสู่จังหวัดใกล้เคียง เช่นจังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง ให้ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และพัฒนาเชื่อมโยงไปสู่การจัดระบบการประสานงานการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ การเรียนรู้กระบวนการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ พร้อมพัฒนากลไกการประสานงานในพื้นที่ตำบลนำร่อง และเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในพื้นที่ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลเอง เพื่อให้ชุมชนชาวเลอยู่ได้ท่ามกลางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและเพื่อให้การเรียนรู้ขยายไปสูพื้นที่อื่นๆ ที่จะก่อให้เกิดเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันจึงทำโครงการ พัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืนขึ้น

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

  1. จัดเวทีทำความเข้าใจระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาศักยภาพและแนวทางการขับเคลื่อน
  2. จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อน สร้างสุขภาวะเมืองปลอดภัยจากภัยพิบัติ ทั้ง 3 จังหวัด
  3. จังหวัดพังงา นำร่องให้มีการคณะกรรมการที่ผู้ว่าราชการจังดวัดแต่งตั้งเพื่อขับเคลื่อนงาน
  4. จัดตั้งกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนเครือข่ายภัยพิบัติอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดพังงา
  5. จัดตั้งคณะทำงานเครือข่ายภัยพิบัติ อำเภอและตำบล นำร่อง ในจังหวัดภูเก็ต
  6. ลงพื้นที่สนับสนุนกระบวนการพัฒนา พื้นที่ในการจัดทำแผนเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

1. เพื่อพัฒนากลไกความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติ ระหว่างภาคประชาชน หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน สถาบันวิชาการ และภาคีที่เกี่ยวข้อง ในการประสานการจัดการภัยพิบัติ

คณะทำงานเข้าใจในแผนการทำงานโครงการ

2. เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสู่ พังงาเมืองปลอดภัย ให้เป็นนโยบายระดับจังหวัด และขยายการเรียนรู้ไปอีก ๒ จังหวัด
  • เกิดกลไกการประสานงาน
  • เกิดแผนการประสานการจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด
3. เพื่อความยั่งยืนของชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ ในการสร้างพื้นที่นำร่องในการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน
  • เกิดความเข้าใจในโครงการ
  • เกิดแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 แผนงานการจัดการภัยพิบัติ 400,000.00 90 15 375,025.00 15 281,566.00 more_vert
15 ก.พ. 61-13 มี.ค. 61 ประชุมเครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน ครั้งที่ 1 40 - -
26 ก.พ. 61-31 ธ.ค. 61 สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติระดับจังหวัดพังงา 50 - -
10 เม.ย. 61-27 มิ.ย. 62 สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 40 - -
29 เม.ย. 61-31 ธ.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 1 40 - -
20 มิ.ย. 61-20 ม.ค. 62 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลนบปริง 20 - -
14 ก.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลรมณีย์ 30 - -
15 ก.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลตำตัว 20 - -
18 ก.ค. 61 สนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการประสานเครือข่ายภัยพิบัติระดับจังหวัดระนอง 20 - -
22 ก.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลทุ่งมะพร้าว 20 - -
28 ก.ย. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลคลองเคียน 40 - -
30 ต.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 2 20 - -
1 พ.ย. 61-31 ธ.ค. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 1 55 - -
20 พ.ย. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลนาเตย 30 - -
28 พ.ย. 61 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 1 50 - -
14 ธ.ค. 61-14 ม.ค. 62 (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 2 30 - -
2 แผนงานการจัดภัยพิบัติสู่ความยั่งยืนโดยท่องเที่ยวชุมชน 260,000.00 30 19 132,927.00 18 262,570.00 more_vert
20 ก.พ. 61 ประชุมคณะทำงานเครือข่ายท่องเที่ยว ครั้งที่1 20 - -
20-21 มี.ค. 61 การศึกษาดูงานการท่องเที่ยวชุมชนบ้านเกาะกลางและชุมชนถ้ำเสื่อ 25 - -
26-28 พ.ค. 61 ประชุมคณะทำงานเครือข่ายท่องเที่ยว ครั้งที่ 2 30 - -
28-29 ก.ค. 61 อบรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 33 - -
1 ส.ค. 61 หนุนเสริมการปฏิบัติการในพื้นที่ชุมชนน้ำเค็ม ครั้งที่1 10 - -
2 ส.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนทับตะวัน ครั้งที่1 30 - -
3 ส.ค. 61 หนุนเสริมการปำิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านหินลาดครั้งที่1 30 - -
4 ส.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนท่าใหญ่ ครั้งที่1 20 - -
31-1 ส.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนน้ำเค็มครั้งที่2 10 - -
22-23 ก.ย. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ชุมชนหินลาดครั้งที่2 10 - -
5-6 ต.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ชุมชนท่าใหญ่ครั้งที่2 20 - -
3 พ.ย. 61-4 มิ.ย. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านทับตะวันครั้งที่2 15 - -
19 ธ.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ท่าใหญ่ ครั้งที่3 15 - -
20 ธ.ค. 61 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ชุมชนน้ำเค็มครั้งที่3 10 - -
10 ม.ค. 62 หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านทับตะวัน ครั้งทั้ง3 15 - -
15 ม.ค. 62 ประชุมคณะทำงานการท่องเที่ยวครั้งที่3 25 - -
26-27 ม.ค. 62 หนุนเสริมการปำิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านหินลาดครั้งที่3 20 - -
3 ก.พ. 62 สรุปปิดโครงการ 20 - -
15 เม.ย. 62 ประชุมคณะทำงานการท่องเที่ยวครั้งที่4 25 - -
3 แผนงานหนุนเสริมกระบวนการทำงาน 140,000.00 0 13 125,015.00 13 130,497.00 more_vert
20 ม.ค. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 1) 25 - -
20 พ.ค. 61-20 มิ.ย. 61 ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 1 (เดือน มกราคม ถึง มิถนายน 2561) 12 - -
20 ก.ค. 61-20 ธ.ค. 61 ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 2 (เดือน กรกฎาคม ถึงมีนาคม 2562) 1 - -
20 ก.ค. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 2) 13 - -
20 ส.ค. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 3) 12 - -
20 ก.ย. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 4) 12 - -
20 ต.ค. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 5) 12 - -
20 พ.ย. 61 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 6) 12 - -
20 ม.ค. 62-20 เม.ย. 62 ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 3 (ปี 2562) 12 - -
20 ก.พ. 62 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 7) 12 - -
2 เม.ย. 62 อุปกรณ์สิ้นเปลือง 0 - -
2-30 เม.ย. 62 ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 8) 12 - -
30 เม.ย. 62 จัดทำรายงาน/สรุปงาน 12 - -
รวม 800,000.00 120 47 632,967.00 46 674,633.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (800,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (632,967.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
27 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00-15.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติเครือข่ายภัยพิบัติเมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:18:53
Project owner
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:30:27 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 8)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สรุปปิดโครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เพื่อสรุปการดำเนินโครงการ /การจัดทำรายงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานร่วมกิจกกรม 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุม รวบรวมเอกสารที่เสร็จ สรุปปัญหาการการทำงาน หาวิธีการแก้ไขระบบการทำงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารที่ได้ที่ทางโครงการทำนั้นยังได้ไม่สมบูรณ์ ยังขาดเอกสารทางด้านการท่องเที่ยวยังไม่ครบ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เอกสารโครงการยังไม่ครบ ต้องติดตามส่งให้ครบตามเวลา

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

คณะทำงานเข้าใจตรงกัน ต้องช่วยการท่องเที่ยวเพื่อติดตามเอกสารให้ครบและเสร็จตามเวลาที่กำหนด

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:53:09
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พฤษภาคม 2562 00:33:55 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำรายงาน/สรุปงาน

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อการดำเนินดครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สรุปงานโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน และ เจ้าหน้าที่ตรวจบัญชี

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ตรวจบัญชี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารถูกต้อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:47:24
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 25 พฤษภาคม 2562 14:53:11 น.

ชื่อกิจกรรม : อุปกรณ์สิ้นเปลือง

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

เพื่อการดำเนินดครงการ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

อุปกรณ์สำนักงานที่ใช้ในการประชุม แะดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เพื่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการขับเคลื่อนโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มีนาคม 2562 เวลา 09:30-15.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติเครือข่ายภัยพิบัติเมื่อ 10 มิถุนายน 2562 20:37:56
Project owner
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 10 มิถุนายน 2562 21:17:29 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 7)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

สรุปรายงานความคืบหน้าโครงการพัฒนากลไกการจัดการภัยพิบัติ อันดามัน และการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน มาประชุม 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานเข้าร่วม 10 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เริ่มประชุม 09.30 น.
และเลิกกิจกรรม 15.00 น.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมสรุปโครงการฯ ว่าได้ทำกิจกรรมตามที่ได้จัดครบแล้วหรือยังขาดอะไร หรือต้องทำเพิ่มอีกหรือไม่ กิจกรรมการท่องเที่ยวต้องสรุปเอกสารการเงิน เอกสารด้านข้อมูลลงในโปรแกรม 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การเก็บข้อมูลด้านการท่องเที่ยวยังขาดการต่อเนื่อง ต้องทำให้เสร็จ ตามเอกสารการเงินส่งมาด้วย

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องเร่งทำข้อมูลสรุปให้ทันตามเวลาที่กำหนด

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00-15.00น น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 มีนาคม 2562 11:15:36
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 26 เมษายน 2562 08:23:07 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.เพื่อลดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินจากภัยที่เกิดขึ้น 2.เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติอย่างรู้เท่าทัน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดระนอง /คณะทำงานเตรียมความพร้อมฯระดับตำบล คณะทำงานโครงการ


รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ เพื่อให้ได้ 1.ได้การจัดทำแผนพื้นที่ 2.ได้กลไกการทำงาน 3.ต้องทราบข้อมูลข้อมูล จากอดีต ปัจจุบัน และอนาคต อย่างชัดเจน 4.ต้องมีการทำงานร่วมกับทุกภาคส่วน และภาคีเครือข่าย 5.ต้องทราบว่ามีพื้นที่เสี่ยงภัย ว่ามีภัยไดบ้าง 6.พื้นที่ปลอดภัย ที่พักผู้ประสบภัย ที่พักผู้อพยพหลบภัย 7.เส้นทางหนีภัย หรือเส้นทางอพยพ 8.ต้องมีปฏิทินภัย 9.ต้องมีแผนที่ทำมือ 10.ต้องมีระบบการสื่อสารที่ดี มีการประสานงานกับใครบ้า 11.มีการเตรียมพร้อมโดยชุมชนเป็นหลักโดยมีการสนับสนุนจาก ปภ.จังหวัด 12.ต้องทราบว่าในพื้นที่มีเครื่องมือที่ช่วยบรรเทาภัยอะไรบ้าง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานเตรียมความพร้อมระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ของจังหวัดระนอง  เครือข่ายภัยภิบัติจังหวัดภูเก็ต คณะทำงานโครงการฯ เจ้าหน้าที่ป้องกันภัยจังหวัด

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

1.ทำแผนที่ทำมือในแต่ละอำเภอ 2.จัดทำแผนเตรียมความพร้อม 3.จัดตั้งคณะกรรมการในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 4.จัดเก็บข้อมูลภัย 5.จัดตั้งคณะทำงานในระดับตำบล อำเภอ 6.เลือกพื้นที่นำร่อง 7.จัดตั้งคณะกรรมการผู้ประสานงานระดับตำบล อำเภอ 8.มีการวางแผนการทำงานว่าทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ใครเป็นผู้ประสาน 9.จัดระดมความคิดเห็นในระดับตำบล อำเภอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พื้นที่นำร่อง ที่ หมู่ที่ 4 ตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง
จัดมีผู้ประสานงานดังนี้ 1.นายชัย เพิ่มพูน              ประสานงานระดับตำบล 2.นายจรัล คชราช              ประสานงานระดับตำบล 3.นายฉัตรชัย ลาภตำ            คณะทำงาน 4.นายสุชาติ เขินบ้านทวร        คณะทำงาน 5.นายบุญสิทธิ์ ทรงชัย        ประสานงานระดับอำเภอ จัดตั้งคณะทำงาน จัดหาต้นทุน จัดเก็บข้อมูลภัย จัดระดมความคิดเห็น จัดเตรียมความพร้อม จัดตั้งคณะกรรมการในหมู่บ้าน เริ่ม ทำ วันที่ 5 มกราคม 2562 เทศบาลเมืองระนอง อำเเภอมือง จังหวัดระนอง เลือกพื้นที่นำร่อง คือ ตำบลเขานิเวศน์ และตำบลหาดส้มแป้น ผู้ประสานงาน คือ นาย สำราญ ใจดี
แผนงานที่จะทำ คือ 1.จัดเวทีระดับอำเภอ 2.จัดตั้งคณะทำงาน    เดือน ธันวาคม 2561 3.ประสานภาคี          เดือน มกราคม 2562 4.เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด 5.จัดตั้งศูนย์ประสานงานระดับอำเภอ
6.อบรมเครื่องมือสื่อสาร  เดือน มกราคม 2562 พื้นที่ อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เลือกพื้นที่ประสบภัย จัดอบรมแกนนำในระดับตำบล อำเภอ 50 คน โดยใช้วิทยากรในพื้นที่ และขอความร่วมมือจากป้องกันภัยจังหวัดระนองในการให้ความรู้ ซึ่งจะจัดในช่วงเดือน มกราคม 2562   พื้นที่ อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
ได้เลือกพื้นที่ หมู่ที่ 7 ตำบลลำเลียง อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นพื้นที่นำร่อง มีแผนที่จะทำดังนี้ คือ 1.จัดเวทีกลุ่มย่อย                  เดือน มกราคม 2562
2.จัดเวทีหลัก อบรมให้ความรู้  เดือน มีนาคม 2562 3.กลุ่มเป้าหมาย 100 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ ป้องกันภัย อปพร. อสม. ภาคีเครือข่าย 4.ซ้อมแผนป้องกันภัย ยกระดับหมู่บ้าน ไปเป็นระดับตำบล พัฒนาคน หาข้อมูลภัย สร้างอาสาในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

-

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:56:40
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:58:57 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าประสานงานฝ่ายเลขาฯ งวดที่ 3 (ปี 2562)

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เลขานุการ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ค่าตอบแทนฝ่ายเลขาโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เลขานุการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เก็บเอกสารและประสานงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไมมี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16.00 น. น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 ธันวาคม 2561 10:55:03
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 7 มิถุนายน 2562 14:27:19 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดระนอง ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดระนอง หน่วยงานราชการ ป้องกันสาธารณภัย จังหวัดระนอง คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เนื่องจากจังหวัดระนองมีภูมิประเทศที่คล้ายกับจังหวัดพังงาพซึ่งพื้นที่ที่เป็นทะเล เคยเกิดสึนามิ พื้นที่บริเวณภูเขา ก็มีภัยดินสไลด์ เลื่อนไหล น้ำป่าไหลหลาก ส่วนที่ราบก็จะมีน้ำท่วม และมีรอยเลื่อนระนอง วันนี้ต้องได้
1.กลไกการทำงาน 2.ต้องได้ข้อมูล ทราบอดีต ปัจจุบัน และอนาคต 3.ต้องรู้ว่ามีพื้นที่เสี่ยงภัยตรงไหนบ้าน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 62 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

กลุ่มเครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดระนอง กลุม่เครือข่ายภัยพิบัติ จังหวัดภูเก็ต 5 คน ป้องกันสาธารณภัย จังหวัดระนอง ตัวแทนอำเภอละอุ่น ตัวแทเทศบาลเมืองระนอง ตัวแทนอำเภอกะเปอร์

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เวทีทำความเข้าใจโครงการ โดยเราจะกลับไปทำในพื้นที่เราโดยมีการประสานงานในระดับตำบล หมู่บ้าน เลือกพื้นที่นำร่อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เวทีทำความเข้าใจโครงการ โดยเราจะกลับไปทำในพื้นที่เราโดยมีการประสานงานในระดับตำบล หมู่บ้าน เลือกพื้นที่นำร่องให้เป็นรูปธรรมโดยที่ อำเภอละอุ่น เลือกพื้นที่นำร่องคือ ม.4 ต.บางพระเหนือ อ.ละอุ่น จ.ระนองซึ่งมีผู้ประสานงานคือ1.นายจรัล คชราช 2.นายบุญสิทธิ์ ทรงชัย 3.นายชัย เพิ่มพูล 4.นายฉัตรชัย สาระกำ เมื่อมีคณะทำงานแล้ว ต้องมีการเก็บข้อมูล จัดเวทีค้นหาต้นทุน ข้อมูลภัย จัดระดมความคิดเห็น เตรียมหาความพร้อม จัดตั้งคณะกรรมการในหมู่บ้าน ในวันที่ 5 มกราคม - 5 มีนาคม 2562 เทศบาลเมืองระนอง เลือกพื้นที่ ต.เขานิเวศน์ อ.เมือง จ.ระนอง และหาดส้มแป้น อ.เมือง จ.ระนอง โดยมี นายสำราญ ใจดี เป็นผู้ประสานงานหลัก ด้วยวิธีการ จัดเวทีระดับอำเภอ พัฒนาทีมทำงาน ประสานภาคี รวบรวมข้อมูล อบรมการใช้เครื่องสื่อสาร ทบทวนเวทีสร้างการเรียนรู้ เพิ่มพื้นที่ตำบล และถอดบทเรียน จัดในช่วง ธันวาคม 2561 - มกราคม 2562 อำเภอกะเปอร์ ลงพื้นที่ปฏิบัติการทุตำบลโดยการกระจารทั่วทุกพื้นที่ เพื่่อให้ทุกคนเรียนรู้ รับรู้เรื่องภัยโดยทั่วกัน ซึ่งมีผู้ประสานงาน คือ 1.ว่าที่ร้อยตรี จักรพงศ์ ริ่มไทยสงค์ 2.นาดำรงค์ นวลหิงค์ 3.นายคณิต พรหมบุตร 4.นายจำเนียร สาลี 5.นายคำแดง พรมดาว โดยวิธีการ  1.จัดเวทีกลุ่มย่อย จัดประชุมระดัยตำบล แต่งตั้งคณะกรรมการระดับตำบลจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยระดับตำบล  2.จัดเวทีหลัก จัดอบรมให้ความรู้ในพื้นที่เสี่ยงภัย หมู่ที่ 7 บ้านสองแพรก ต.ลำเลียง แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการระดับหมุ๋บ้าน ตำบล อำเภอ จัดทำแผนที่เสี่ยงภัยระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และทำการฝ฿ก้อมแผนการอพยพในพื้นที่เสี่ยงภัย โดยได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

อาสาสมัครในพื้นที่/ประชุมลงพื้นที่นำร่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
26 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561 12:51:23
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 1 พฤษภาคม 2562 11:41:33 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลนาเตย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน 2.การจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติในพื้นที่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัยตำบลนาเตย 30คน คณะทำงาน 5 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ จัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติระดับโดยชุมชน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 37 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา ต.นาเตย และชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงตำบลนาเตย 34 คน คณะทำงาน 3 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจในการจัด เพื่อให้ทุกคนเข้าใจตรงกันว่าเราจัดทำขึ้นเพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภับทุก ๆ อย่าง เป็นการสร้างให้ทุกคนมีความพร้อมที่จะช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ทุกเมื่อและรักษาให้ตนเองปลอดภัยและมีชีวิตรอดจากภัยต่าง ๆ ได้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดกระบวนการการจัดตั้งคณะกรรมการเตรียมความพร้อมในตำบล และวางแผนการจัดการแผนภัยพิบัติระดับตำบล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2561 11:53:51
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:54:20 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 6)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน คาวมคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 11 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 11 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมรายงานความคืบหน้าโครงการภัยพิบัติ ในการลงพื้นที่ในตำบลต่างๆ ในจังหวัดพังงา ตอนนี้ลงพื้นที่ ตำบลรมณีย์ ตำบลบางไทร-ตำตัว ตำบลทุ่งมะพร้าว ตำบลนบปริง ตำบลคลองเคียน และในเดือนนี้เป้าหมาย 1 ตำบล ว่าจะลงพื้นที่ตำบลนาเตย ยังเหลือ 2 ตำบล เป้าหมายว่าจะลงพื้นที่จังหวัดระนอง นัดประชุมกับเครือข่ายภัยพิบัติ เป็นวันที่ 28 นี้ การท่องเที่ยวชุมชน มีการจัดทำเส้นทางท่องเที่ยวในตำบลบางม่วง(หมู่บ้านทับตะวัน) ในส่วนหมู่บ้านนำ้เค็มนั้นจัดทำการสำรวจห้างร้านต่างๆ เพื่อทำเส้นทางท่องเที่ยวในหมู่บ้าน ส่วนอีก 2พื้นที่คือ ท่าใหญ่ กับหินลาด นั้น จะลงพื้นที่เพื่อประชุมทำการสำรวจเส้นทางท่องเที่ยว ช่วงบ่ายมีการสรุปงบประมาณที่ใช้จ่ายและจะดำเนินงานต่อไปอย่างไร งานล่าช้ากว่าที่กำหนดเนื่องจากความไม่พร้อมทั้งทีมทำงานและในพื้นที่จังหวัดเนื่องจากกำหนดการอาจมีงานอื่นแทรกบ้าง แต่จะสรุปงานให้ได้ทุกพื้นที่ตามกำหนด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจและดำเนินการต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เวลางานไม่ตรงกัน/พยายามเคลียร์เวลาให้ตรงกัน

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
30 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561 11:53:41
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พฤษภาคม 2562 00:32:25 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

เครื่อข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 52 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัย เครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต 43 คณะทำงาน  3 คน พี่เลี้ยงในพื้นที่ 6 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

การจัดประชุม09.00 น.โดยป้องกันภัยจังหวัดภูเก็ต เล็งถึงปัญหาว่าภัยพิบัติเป็นสิ่งสำคัญต่อชีวิตและทรัพย์สินมาก ต้องมีการทำงานเป็นทีม ต้องมีการเข้าใจวิธีการ หลักการทำงาน ภัยมีหลากหลาย แต่เราต้องเข้าใจและรู้ทุกอย่างทั้งก่อนเกิดภัย ขญณะเกิดภัย หลังเกิดภัย เราต้องมีข้อมูลคน ข้อมูลคนติดเตียง ผู้พิการ เดิกทารก ผู่ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องเก็บข้อมูลอย่างละเอียด ต้องรู้ว่าเรามีเครื่องมือไดบ้างที่สามารถเข้าไปทำงานในการช่วยเหลือด้านภัยพิบัติ เช่น เครื่องเลื่อย มีดพร้า รถ ยา คน ความพร้อม ฯลฯ ช่วงบ่ายจัดกลุ่มวาดแผนที่ทำมือของแต่ละอำเภอ จัดหาจุดเสี่ยงภัย จุดปลอดภัย เส้นทางหลบหลีกหรือเส้นทางอพยพเวลาเกิดภัย จัดตั้งคณะทะงานระดับตำบลและระดับอำเภอ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดโครงสร้างในพื้นที่/จัดต้้งคณะกรรมการภัยพิบัติจังหวัดภูเก็ต มีการจัดเก็บข้อมูลในพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล อำเภอ และรวบรวมในระดับจังหวัด
มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2561 09:56:48
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 7 เมษายน 2562 19:30:35 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 5)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน 2.การจัดทำแผนเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติในพื้นที่

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมความนคืบหน้าของโตรงการ ลงพื้นที่ จัดทำแผนงานภัยพิบัติโดยชุมชน ที่ผ่านมาในชุมชนคลองเคียน ได้รับความสนใจเป็นอย่างดี ในพื้นที่มีคนสนใจในเรื่องภัยพิบัติใกล้ตัวกันมาก ทั้งเรื่องไฟป่า ดินสไลด์ ตลอดถึงสึนามิ เพราะเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบเหมือนกัน ทั้งนี้มีความเข้าใจในตัวโครงการบ้างแล้วเพราะแกนนำเครือข่ายภัยพิบัติจังหวัดพังงา และเคยมีหน่วยงานเอกชนเข้ามาทำโครงการภัยพิบัติเหมือนกัน โดยจะมีทีม อปพร.ในพื้นที่อยู่บ้างแล้ว การประชุมจึงมีการแลกเปลี่ยนทำความเข้าใจ และจัดตั้งโครงสร้างคณะกรรมการ การรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน มีการระบุหัวหน้าาฝ่ายต่างๆ และทางชุมชนจะกลับไปเติมชื่อทีมงานให้รียบร้อยก่อน แล้วจะขอนัดประชุมชนในครั้งต่อไป ในส่วนของโครงการการท่องเที่ยวฯนั้น ยังไม่มีความคืบหน้า แต่จะขอโอนงบประมาณที่คงเหลือใน การศึกษาดูงานที่กระบี่ไปสนับสนุนพื้นที่โครงการ ที่ประชุมเห็นด้วย ในส่วนของงบประมาณได้มีการโอนเงินงวดที่ 2 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอคืนงบประมาณในส่วนที่ยืมโครงการอื่น ที่ประชุมเห็นด้วย แต่ให้ทำบัญทึกความเข้าใจไว้ด้วย เพื่อจะได้รู้ว่างบในส่วนไหน และมีค่าผู้ตรวจบัญชีด้วย ประมาณ 8,000 กว่าบาท ที่ประชุมว่าในครั้งต่อไปจะมีอีกมัย มีอีกคิดตามงบประมาณที่ได้ใช้จ่าย พื้นที่จังหวัดระนองขอนัดประชุมภัยพิบัติครั้งที่ 2 แต่ยังไม่ได้กำหนดวันเวลา ให้กำหนดล่วงหน้าเพื่อจะได้มีเวลาตรงกัน แล้วจะบอกอีกครั้งเมื่อระนองกำหนดวันมา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเข้าใจเป็นอย่างดี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินโครงการล่าช้ามาก /ต้องหาเวลาและลงพื้นที่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 กันยายน 2561 เวลา 09:00-16:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2561 11:52:37
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติ เมื่อ 2 พฤษภาคม 2562 00:33:07 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลคลองเคียน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 35 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ จัดหาสมาชิกและทีมงาน จุดชะนวนการเกิดภัย ต้องเป็นที่พึ่งของคนอื่นได้ การรู้แจ้งเรื่องภัยที่รู้จริง (ที่ชาวบ้านเชื่อ) ความเสี่ยงภัย คณะทำงานต้องขยับเรื่องดังนี้แต่งตั้งคณะทำงาน มีการจัดเก็บข้อมูล สังเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผน ต้องมีเครื่องมือ และคนร่วมทีม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 25 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

โครงการการจัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติโดยชุมชน เป็นแนวคิดว่า " ภัยพิบัติเป็นเรื่องที่ป้องกันและบรรเทาได้ ถ้ามีการเตรียมความพร้อมที่ดี "  ได้นำแนวคิดการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐานมาใช้ เพื่อให้ชุมชน หมู่บ้านมาอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย มีความรู้ความเข้าใจถึงภัยในท้องถิ่น และตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัการภัย แนวคิดในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน เป็นการศูนย์กลางในการดำเนินการป้องกัน แก้ไข บรรเทา ฟื้นฟูจากภัยพิบัติ โดยใช้ทรัพยากรและบุคลากรในชุมชน มีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ท้งในด้านการแจ้งเตือนภัย การอพยพประชาชนอย่างเป็นระบบ และการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของชุมชน ลดความเสี่ยงภัยของชุมชนและเพิ่มขีดความสามารถให้คนในชุมชน เพิ่มทักษะโดยการฝึกปฏิบัติให้แก่คนในชุมชน สามารถรับมือกับภัยพิบัติด้วยตนเอง ชุมชนเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ทั้งในด้านการแจ้งเตือนภัยการอพยพประชาชนอย่างเป็นระบบ และการฝึกซ้อมแผนป้องกันภัย ในพื้นที่ชุมชนคลองเคียนเคยได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สึนามิ หลังจากนั้นได้มีองค์กรเอกชนเข้ามาให้การสนับสนุนตั้งอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อปพร. เพื่อให้ชุมชนช่วยเหลือตนเองได้ แต่การดำเนินการไม่ต่อเนื่อง จึงต้องมีการทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ทางคณะทำงานโครงการฯจะเข้ามรเป็นพื่เลี้ยงช่วยดำเนินการและประสานงานกับหน่วยงาน เช่นประสานงานกับปภ.จังหวัดในการให้ความรู้เรื่องภัยและอบรมการกู้ภัยเบื้องต้น  ทั้งนี้ ในชุมชนต้องมีขั้นตอนในการดำเนินการ 1. สถานะการณ์ในพื้นที่ 2.สิ่งที่มี 3.สิ่งที่ต้องทำ  สถานะการในพื้นที่/สภาพทั่วไปของตำบลคลองเคียน มีอะไรบ้าง แผ่นดินไหว/ลมพายุ เสียเป็นส่วนใหญ่ น้ำทะเลหนุนสูง ดินสไลด์ใน ม.7 ม.8 ในสวนยางทำให้ต้นยางเสียหาย  ลมพายุ เรือล่ม ไฟ้ไหมลามสวน ในเดือนท่ีผ่านมานั้น พายุหอบเอาหลังคาบ้านไปหลายหลัง ทำให้ทาง อบต.คลองเคียน ช่วยเหลือกระเบื้องมุงหลังคาให้กับชาวบ้าน  ในเหตุพายุอาจมีการปรกาศล่วงหน้าได้ แต่ในสภาวะดินสไลด์และเหตุนำ้ทะเลหนุนไม่มีประกาศล่วงหน้าทำให้มีความเสียหายและส่งผลกระทบกับการใช้ชีวิตของคนในชุมชน เป้าหมายของโครงการ คือการรู้เท่าทันต่อสถานการณ์การเกิดภัย ความเสี่ยง สิ่งสำคัญ คือ อาสาสมัคร/คณะทำงานโครงสร้าง ข้อมูลประชากรชุมชน ความรู้เดิมของทีมงาน การปรับเพิ่มคณะทำงาน การจัดทำข้อมูลในพื้นที่ตำบล เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลจัดทำแผนภัยพิบัติ การเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ โครงสร้างคณะทำงานกรรมการศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติตำบล มี ประธานศูนย์ฯ รองประธาน 2 คน  ที่ปรึกษา 2 คน เลขานุการ เหรัญญิก ฝ่ายต่างๆ หัวหน้าฝ่ายเฝ้าระวัง หัวหน้าฝ่ายจราจร หัวหน้าฝ่ายอพยพ หัวหน้าฝ่ายปฐมพยาบาล หัวหน้าฝ่ายครัวกลาง ระดมความคิดเห็นคนเข้าเป็นอาสาสมัคร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจในโครงการ/มีโครงสร้างคณะกรรมการศูนย์เตรียมความพร้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

ต้องการให้ผู้ที่มีจิตอาสาเข้ามาร่วมทำงานด้วย

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 กันยายน 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2561 09:28:55
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:31:05 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 4)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงาน 12 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

จัดประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน 11 คน ทีมงานในพื้นที่ 1 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมความคืบหน้าของโครงการภัยพิบัติ เนื่องจากต้องยืมงบประมาณการดำเนินโครงการจากส่วนอื่น จึงต้องขอความเห็นในที่ประชุม ที่ประชุมให้ดำเนินการได้ แต่เมื่องบสนับสนุนได้โอนมาแล้ว ก็ให้ทำบันทึกคืนเงินทันที ถามเรื่องงบประมาณ และผลการตรวจเอกสารการเงิน ว่าด้วยได้ส่งตรวจไปแล้วแต่ในพื้นที่จังหวัดพังงาไม่เข้าใจการตรวจบัญชีในโครงการ จึงต้องส่งไปให้ที่ สจรส.ส่งตรวจให้ และกำลังดำเนินการอยู่ เมื่อตรวจเรียบร้อยแล้วจะรายงานอีกที การลงพื้นที่ว่าด้วยในเดือนนี้มีพื้นที่ ตำบลคลองเคียน ได้นัดวันประชุมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันที่ 22 นี้ ขอเชิญคณะทำงานเข้าร่วมด้วย สถานที่ เป็นห้องประชุม อบต.คลอฃเคียน การท่องเที่ยวโดยชุมชน มีการดำเนินการเส้นทางการท่องเที่ยวโดยมีการลงพื้นที่ร่วมกับชาวบ้านมอแกลน ทำเส้นทางแนะนำการท่องเที่ยวชุมชน ขณะนี้ในพื้นที่ชุมชนน้ำเค็มได้จัดทำเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ยังมีรายละเอียดข้อมูลชุมชนในบ้างส่นประกอบด้วย เช่น ร้านค้า แหล่งที่พัก จุดพักผ่อน เป็นต้น จะนำเสนอในครั้งหน้า

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความคืบหน้าของโครงการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไมมี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
20 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2561 14:30:49
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:24:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงาน(ครั้งที่ 3)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ติดตามความคืบหน้าโครงการฯ 2.สรุปแนวทางและการดำเนินโครงการต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

คณะทำงานโครงการทั้ง 12คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงาน ความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 12 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงานโครงการ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เรื่องงบประมาณที่ใช้จ่ายในการดำเนินการประชุมนั้น อาจจะไม่ตรงตามที่ได้กำหนดในโครงการได้ ไม่จำเป็นที่จะต้องตรงตามที่กำหนด  ในบางเรื่องที่ยังคงเหลืองบประมาณ ขอความเห็นชอบจากที่ประชุมว่า ให้ใช้ในหมวดอื่นต่อไป เช่น การศึกษาดูงานท่องเที่ยวชุมชนนั้น ก็นำงบประมาณที่เหลือใส่ในหมวดอุดหนุนพื้นที่ก็ได้ หรือแล้วแต่ว่าในหมวดอื่นขาด นไส่วนนี้มาเสริมก็ได้ แต่ต้องมีการรายงานในที่ประชุมทุกคีั้งในเรื่องการใช้งบประมาณ ทั้งนี้ความคืบหบน้าของโครงการภัยพิบัตินั้น มีการดำเนินการลงพื้นที่เสี่ยงในจังหวัดพังงาไปแล้ว 3 พื้นที่ ในเดือนที่ผ่านมา คือ ตำบลนบปริง ตำบลรมณี ตำบลตำตัว และตำบลทุ่งมะพร้าว ยังมีพื้นที่อีก คือ ตำบลบางเตย ตำบลนาเตย ตำบลคลองเคียน ซึ่งจะมีการประสานงานลงพื้นที่กับทางแกนนำอีกครั้ง ในแต่ละพื้นที่มีความพร้อมไม่เหมือนกัน ทั้งนี้จึงขอให้แต่ละพื้นที่ทำการสำรวจข้อมูลเสี่ยงภัยก่อน และจัดทำปฏิทินภัยในพื้นที่นั้นๆ พื้นที่ไหนมีเครื่องมีการช่วยเหลือเบื้องต้นแล้วให้รายงานด้วย เช่นในพื้นที่ รมณีย์ บอกว่าพื้นที่ของตนเคยได้รับ มาตราวัดปริมาณนำ้ฝนมาแล้ว แต่ขาตั้งเกิดการเสียหาย ทางชุมชนรับว่าจะกลับซ่อมบำรุง ในพื้นที่ทุ่งมะพร้าวก็มีเหมือนกันแต่เป็นของกรมป่าไม้ในพื้นที่่ ซึ่งมีเจ้าหน้าดูแลอยู่แล้ว แต่ละพื้นที่มีพื้นฐานไม่เท่ากัน ในพื้นที่รมณีย์ ตำตัวและนบปริง ต้องจัดการตั้งแต่ทำแบบสำรวจภัย แต่ในพื้นที่ทุ่งมะพร้าว นั้นมีข้อมูลอยู่แล้วจึงจะมีการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมเลย คือมีการตั้งทีมทำงานภัยพิบัติในพื้นที่ และมีการตั้งศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติ ่ พื้นที่คลองเคียนได้เคยมีหน่วยงานเข้ามาสนับสนุนป้องกันภัยโดยชุมชนหลังเหตุการณ์สึนมิเมือ่ปี47 แต่ก็ได้ขาดการต่อเนื่อง ในพื้นที่ยังมีทีมทำงานอยู่ แต่ขาดการต่อเนื่องแล้วจึงต้องมีการทำข้อมูลสำรวจภัยก่่่อน และจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายต่างๆ เบื้องต้นก่อน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจและในดำเนินการต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
4 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:38:40
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:54:37 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนท่าใหญ่ ครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ชาวบ้าน ตัวแทนสมาชิก ชาวประมงพื้นบ้าน จัดทำข้อมูล จัดสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว มีการรวบรวมทุนเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

ประชุมสร้างความเข้าใจ จัดทแผนงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน คณะทำงาน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมสร้างความเข้าใจ ทำแผนที่ทำมือ สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว จัดตั้งกองทุน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจถึงการท่องเที่ยวที่ต้องมีความยั่งยืน คือ ต้องเลือกนักท่องเที่ยว ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยู่ให้ยาวนานที่สุด เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ป่าโกงกาง ป่าชายเลน เพื่อให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติทางทะเล ต้องสร้างวิถีชาวเลแบบดั้งเดิม จัดบ้านพักสำหรับนักท่องเที่ยวกินอยู่แบบชาวเลด้วยความสะอาดและปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
3 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:36:38
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:34:46 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปำิบัติการในพื้นที่ชุมชนบ้านหินลาดครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-ตัวแทนแต่ละชุมชนที่ร่วมโครงการ ชุมชน  30 คน -คณะทำงานโครงการ 10 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

สามารถนำข้อมูล/ เข้าใจวิธีการ/การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน -สามารถค้นหาจุดเด่น เพื่อนำเสนอเป็นจุดท่องเที่ยว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมสร้างความเข้าใจกับสมาชิกในโครงการ จัดทำข้อมูล สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวโดยสมาชิกโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจในกระบวนการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีการเลี้ยงหอย ปูปลา การหากุ้งแบบโบราณ สามารถสร้างให้การท่องเที่ยวยั่งยืนโดยที่ไม่มีการทำลายสิ่งแวดล้อม สร้างวิถีการหาปลาแบบชาวบ้าน ต้องมีการเลือกนักท่องเที่ยวที่มาแล้วสามารถบอกต่อเอรื่องราวชาวเลได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
2 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:34:35
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 21 มิถุนายน 2562 16:23:30 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนทับตะวัน ครั้งที่1

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ชี้แจ้งผลการดำเนินการ 2.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

1.ครูภูมิปัญญาด้านต่างๆ 2.ทีมเรือ 3.ทีมสตรี 4.ทีมเยาวชน/คนรุ่นใหม่ 5.ทีมไกค์ชุมชน 6.ทีมโฮมสเตย์ 7.ทีมอาหาร

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เนื้อหา 1.ทบทวน/สรุปบทเรียนที่ผ่านมา 2.ติดตามสถานการณ์แต่ละประเด็นงาน 3.วางแผนงานท่องเที่ยว/วางแผนงานอนุรักษ์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ชาวบ้าน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
1 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 20:31:25
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 20 มิถุนายน 2562 15:53:50 น.

ชื่อกิจกรรม : หนุนเสริมการปฎิบัติการในพื้นที่ ชุมชนน้ำเค็มครั้งที่2

คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
วัตถุประสงค์

1.การดำเนินงานต่อไป

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

-ทีมประมง -ทีมเยาวชน -ทีมแม่สตรี -และผู้สนใจ

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

-ทำความเข้าใจทีมท่องเที่ยวชุมชนโครงการ -เพิ่มกำหนดจุดน่าสนใจ -วางแผนงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

เยาวชน แกนนำชุมชนมอแกลนบ้านน้ำเค็มที่เป็นคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้รู้ ทีมเก็บข้อมูล/สำรวจ ทีมหนุนเสริมการจัดทำข้อมูล

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมแนวทางการจัดทำข้อมูลมอแกลนพาเที่ยวบ้านน้ำเค็ม
- ประเมินจุดท่องเที่ยวกับเนื้อหาที่ได้จัดเก็บข้อมูลมา - จำแนกข้อมูล พื้นที่ธรรมชาติตามวิถีชีวิต ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม สังคมวิถีความเป็นอยู่ กระบวนการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชน เพื่อใช้สำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีระดับความต้องการด้านความรู้และสันทนาการแตกต่างกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถานที่ที่จัดนำเที่ยว มีจุดเช็คอินที่น่าสนใจ จัดทีมและคณะทำงานชัดเจน จัดปราชน์สำหรับแนะนำการท่องเที่ยวอย่างชัดเจน จัดการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับบ้านทับตะวัน จัดการท่องเที่ยวแบบวิถีชาวเลโดยไม่ทำลายทรัพยากรเดิม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
28 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยอรวรรณ หาญทะเลอรวรรณ หาญทะเลเมื่อ 20 ธันวาคม 2561 11:20:32
Project owner
แก้ไขโดย อรวรรณ หาญทะเล เมื่อ 7 มิถุนายน 2562 16:49:13 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

กลุ่มเป้าหมายจาก
- ชุมชนบ้านน้ำเค็ม ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนทับตะวัน บ้านบางสัก ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนบนไร่ บ้านบางสัก ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา - ชุมชนท่าใหญ่ บ้านท่าปากแหว่ง ต.โคกกลอย อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา - ชุมชนหินลาด บ้านหินลาด ต.ท้ายเหมือง อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

คณะทำงาน ตัวแทนพื้นที่โครงการ 4 พื้นที่

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สัมมนาเชิงปฏิบัติ - ฟังบรรยายสถานการณ์ท่องเที่ยวชุมชนในประเทศไทย - แลกเปลี่ยนสถานการณ์และความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวชุมชน - เรียนรู้เครื่องมือการทำแผนที่ท่องเที่ยวชุมชนในฝัน - เรียนรู้เครื่องมือการทำปฏิทินการท่องเที่ยวชุมชน - เรียนรู้หลักสูตรบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

3.5.1 วิเคราะห์การท่องเที่ยวที่ชาวเลมองเห็นและเป็นไปได้ 3.5.2 ทำแผนที่มานุษยวิทยาเดินดิน(แผนที่ชุมชน)ได้ 3.5.3 กำหนดจุดน่าเที่ยว-เรียนรู้ในชุมชนได้ 3.5.4 ทำปฏิทินการท่องเที่ยวชุมชนได้ 3.5.5 ทำตารางบริหารจัดการท่องเที่ยวชุมชนได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-
22 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00-15:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2561 14:33:53
แก้ไขโดย เครือข่ายภัยพิบัติอันดามัน เมื่อ 8 ธันวาคม 2561 21:21:32 น.

ชื่อกิจกรรม : (ลงพื้นที่)ประชุมร่วมคณะทำงานจังหวัดพังงา ครั้งที่ 2 ตำบลทุ่งมะพร้าว

  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
วัตถุประสงค์

1.ทำความเข้าใจโครงการ 2.จัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

ทีมทำงาน 5 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 15 คน

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

เวทีทำความเข้าใจโครงการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ทีมทำงาน 3 คน แกนนำและชาวบ้านในพื้นที่ 16 คน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

โครงการจัดทำแผนการขับเคลื่อนชุมชนเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ว่าด้วยในชุมชนทุ่งมะพร้าวเป็นหนึ่งในเครือข่ายภัยพิบัติอันดามันที่มีแกนนำเข้าร่วมประชุมอย่างต่อเนื่อง จุดสำคํยของโครงการฯ คือเน้นให้ชาวงบ้านในพื้นที่มีส่วนร่วม ร่วคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ทั้งนี้จะช่วยลดความเสี่ยงภัยในชุมชน และเพิ่มขีดความสามารถให้กับคนในชุมชน จะเน้นเรื่องฝึกอบรมกู้ภัย ในพื้นที่มีต้นทุนทีมทำงานอยู่แล้ว และยังมีอุปกรณ์กู้ภัย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีข้อมูลประชากร  มี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
-