สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ (จริยธรรมสื่อ)

รายละเอียดโครงการ
เลขที่ข้อตกลง
ชื่อโครงการ เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ (จริยธรรมสื่อ)
ชุดโครงการ งานสื่อสาธารณะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอานนท์ มีศรี
คณะทำงาน ?
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณโครงการ 1,300,000.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน) 0
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ ภาคใต้
จังหวัด
ละติจูด-ลองจิจูด place

หลักการและเหตุผล

 

กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ / ตัวชี้วัด / การดำเนินกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ

วัตถุประสงค์โดยตรง

เพื่อให้มีการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะโดยเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

มีนโยบายสาธารณะ ที่ถูกขับเคลื่อนโดยเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ อย่างน้อย 4 นโยบาย

เพื่อเพิ่มแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมมาประยุกต์ใช้ ในยุค News Nomal

มีรูปแแบบและแนวปฏิบัติ ด้านจริยธรรมสื่อ

เพื่อให้เกิดการขยายเครือข่าย 5 ประเด็น (คน)

มีเครือข่าย เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า xxx

กิจกรรมหลัก

วันที่ทำกิจกรรมชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

กิจกรรมย่อยที่ยังไม่กำหนดกิจกรรมหลัก

20 ก.ค. 2563 แผนงานกลาง 40 0.00
1 ก.ย. 2563 แผนงานปฏิบัติการสื่อ 0 0.00
รวม 0.00 0 162 1,315,490.00 160 1,315,488.00

คำเตือน : งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมย่อย (1,315,490.00 บาท)

คำเตือน : งบประมาณของโครงการ (1,300,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณของกิจกรรมหลัก (0.00 บาท)

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2567 น.

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
3 ธันวาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:25:25
Project owner

ชื่อกิจกรรม : เวทีสาธารณะ “การท่องเที่ยววิถีใหม่กับการพัฒนาศักยภาพท่องเที่ยวชุมชนตำบลยางค้อม จ.นครศรีธรรมราช

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีสาธารณะ “การท่องเที่ยววิถีใหม่กับการพัฒนาศักยภาพท่องเที่ยวชุมชนตำบลยางค้อม จ.นครศรีธรรมราช และสื่อสารผ่านช่องทางออนไลน์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. มีนักสื่อสารความหมายในพื้นที่จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ผู้ประกอบการ , นักจัดสังคม , คนในชุมชน 2. ถ่ายทอดสด ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช
ผลลัพธ์ 1. สามารถผลิตชิ้นงานเพื่อการสื่อสารอย่างง่ายใช้ในการโปรโมทสินค้าในช่องทางการสื่อสารของตนเอง 2. การเชื่อมโยงสู่ระดับนโยบายภายในจังหวัดและการเชื่อมสู่ยุทธศาสตร์เพื่อการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชน 3. การเชื่อมร้อยสู่เครือข่ายสายใยนักวิชาการ และเครือข่ายการท่องเที่ยวภาคใต้ 4. ยกระดับเป็นนโยบายสาธารณะ ด้านการจัดการท่องเที่ยวชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
1 ธันวาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:10:24
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:10:53 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ผลิตคลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์กลุ่มอาชีพ "ไวน์พ่อเฒ่า"

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. การวางแผน เป็นการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เรื่องราวที่จะถ่ายทำ วัตถุประสงค์ และระยะเวลา ของเรื่อง
  2. เขียนบทโทรทัศน์ (Script) โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการเปลี่ยนข้อความเป็นภาพและเสียง กำหนดมุมกล้อง เวลาที่ใช้ในแต่ละช็อต
  3. องค์ประกอบต่างๆ ที่ต้องใช้ในการถ่ายทำ เช่น อุปกรณ์ในการถ่ายทำ อุปกรณ์ประกอบฉาก สถานที่ในการถ่ายทำ นักแสดง
  4. การถ่ายทำ เป็นการบันทึกภาพตามบทโทรทัศน์
  5. แคปเจอร์ (Capture) เป็นการนำวีดีโอที่ได้ถ่ายทำไว้ มาบันทึกลงในฮาร์ดดิส
  6. การตัดต่อ เป็นการนำภาพที่ได้จากการแคปเชอร์มาเรียงร้อยต่อกันตามลำดับของบทโทรทัศน์
  7. ใส่เอ็ฟเฟ็กต์/ตัดต่อใส่เสียง เมื่อได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงทำการใส่เอ็ฟเฟ็กต์ ภาพนิ่ง ข้อความ และเสียง เป็นต้น เพื่อให้งานวิดีโอเกิดความสมบูรณ์ สวยงาม น่าสนใจ
  8. แปลงวิดีโอ สามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็น VCD, DVD เพื่อนำไปใช้งานได้ตามต้องการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์กลุ่มอาชีพ "ไวน์พ่อเฒ่า"  ผ่านช่องทาง : Facebook page ลิกอร์มีเดีย

- Link : https://drive.google.com/file/d/1dyuRM1iZchGk42TMUEnacBkMzGJhAzSC/view?usp=sharing 2. เชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
29 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:16:27
Project owner

ชื่อกิจกรรม : ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเวที Side Event สานพลังพื้นที่ปลอดภัยต้นแบบในเขตพื้นที่ 11

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเวที Side Event สานพลังพื้นที่ปลอดภัยต้นแบบในเขตพื้นที่ 11

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. ประเด็นการขับเคลื่อนในการร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัย ที่เป็นรูปธรรม เช่น การใช้สมุนไพรรักษาโรค การจัดการอาหาร และมาตรการทางสังคม ผลลัพธ์ 1. ต้นแบบของการทำงานร่วมในการร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัยในภาวะวิกฤติ 2. การใช้การสื่อสารสาธารณะในรูปแบบต่างๆเพื่อให้เห็นการทำงานโดยให้เห็นถึงประเด็นต่างๆในการสร้างพื้นที่ปลอดภัย เพื่อการดำรงชีพในสถานการณ์โควิด - 2019

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
28 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:13:14
Project owner

ชื่อกิจกรรม : การปฏิบัติงานสื่อ (ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เวทีถอดบทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้)

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. หาข้อมูล โดยการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลและสัมภาษณ์ ว่าใครทำอะไร  ที่ไหน  เมื่อไหร่
  2. วางแผนการเขียนศึกษากลุ่มเป้าหมายและนโยบายของประเด็นงานที่จะส่งเผยแพร่
  3. ร่างเนื้อหา  รูปแบบ  ภาษา  ทบทวน
  4. ประเมินผล โดยการอ่านทบทวนด้วยตนเอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องช่วยอ่าน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. หนังสือพิมพ์ออนไลน์  ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
22 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:54:31
Project owner

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการสังเคราะห์ข้อมูลด้านวิชาการจากเวทีถอดบทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นการสรุปประชุมการสังเคราะห์ข้อมูลด้านวิชาการ จากเวทีถอดบทเรียนเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้เพื่อเป็นประสบการทำงานและชุดองค์ความรู้ และได้นำเสนอต่อที่ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาคใต้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. ชุดความรู้ที่เป็นเอกสารทางวิชาการ ผลลัพธ์ 2. เป็นผลงานเพื่อการประกอบแผนงานในระยะต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
21 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:49:16
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:49:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. ชี้แจงวัตุประสงค์ ของโครงการ
  2. รายงานผลการประเมินโครงการ
  3. กระบวนการถอดบทเรียนและสรุปการถอดบทเรียน
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การถอดบทเรียน การประชุม เชิญ 2 ส่วน ผู้แทนขับเคลื่อนประเด็น สุขภาพ ความมั่นคงทางอาหาร สิ่งแวดล้อม มนุษย์ เนื่องจากสถานการณ์โควิดทำให้กรขับเคลื่อนงานมีการเปลี่ยนรูปแบบไปบ้างเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของการถอดบทเรียนในวันนี้ เพื่อนำเอาข้อสรุปที่ได้จากทีมประเมินมาผนวกกับในส่วนของงานประเด็น การขับเคลื่อนงานที่ผ่านมาภายใต้วัตถุประสงค์ ดังนี้

- การขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายสาธารณะโดยกลไกสื่อสร้างสุขภาคใต้ - จริยธรรมสื่อในสถานการณ์ New Normal - ขยายเครือข่ายสื่อให้ครอบคลุมในทุกระดับ 2. การขับเคลื่อนงานที่ผ่านมา โดยรวมการขับเคลื่อนผ่านออนไซต์เราทำงานได้น้อยมาก ไม่ว่าจะเป็นงานประเด็น ใช้ระบบซูมเป็น นวัตกรรมในการสื่อสารที่สามารถดูย้อนหลังได้แบบเรียวไทม์ 3. รายงานผลการประเมินของพื้นที่เครือข่ายทั้ง 5 เครือข่าย
4. สิ่งที่ได้ - ยืนยันเป้าหมาย ทิศทาง เห็นแก็บจากการประเมิน
- เห็นจิ๊กซอว์ของภาพใหญ่ และออกแบบเพิ่ม - ออกแบบกระบวนการเพื่อปิดแก็บ และยกระดับการทำงานเพื่อก้าวไปให้ถึงเป้าหมาย - ร่วมกันออกแบบกระบวนการเพื่อปิดแก็บ ยกระดับ เพื่อเห็นเป้าหมายที่ชัดขึ้น 5. สิ่งที่จะเดินต่อ - ตัวชี้วัด - กลไกขับเคลื่อน/การจัดการ
6. สิ่งที่คาดว่าจะเกิด - เกิดโมเดลหลายระดับ
- การใช้สื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
19 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:32:34
Project owner

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมถอดบทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมถอดบทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้  หารือเนื้อหา และ ประสานงานวิทยากร ในการถอดบทเรียน และหารือ การเข้าร่วมประชุมเพื่อการรายงานความก้าวหน้า และ การสรุปการดำเนินงานศูนย์วิชาการนโยบายสาธารณะ วันที่ 24 – 25 พฤศจิกายน 2564 สถานที่ จังหวัดกระบี่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. วิทยากรนำถอดบทเรียนในวันที่ 20 – 21 พฤศจิกายน 2564สถานที่ประชุม ห้องประชุมเขาหลวงรีสอร์ท อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช
  2. เนื้อหาและเอกสารประกอบการถอดบทเรียน

- แผนการดำเนินงาน
- รายงานผลกิจกรรมที่ผ่านมา - ร่างกำหนดการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
16 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:03:19
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:07:55 น.

ชื่อกิจกรรม : ผลิตคลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์กลุ่มอาชีพ "ผลิตภัณฑ์ ผ้ามัดย้อม และผลิตภัณฑ์ บ้านลอยเลิศ(ปลาดุกร้า)”

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. การวางแผน เป็นการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เรื่องราวที่จะถ่ายทำ วัตถุประสงค์ และระยะเวลา ของเรื่อง
  2. เขียนบทโทรทัศน์ (Script) โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการเปลี่ยนข้อความเป็นภาพและเสียง กำหนดมุมกล้อง เวลาที่ใช้ในแต่ละช็อต 3.  องค์ประกอบต่างๆ ที่ต้องใช้ในการถ่ายทำ เช่น อุปกรณ์ในการถ่ายทำ อุปกรณ์ประกอบฉาก สถานที่ในการถ่ายทำ นักแสดง
  3. การถ่ายทำ เป็นการบันทึกภาพตามบทโทรทัศน์
  4. แคปเจอร์ (Capture) เป็นการนำวีดีโอที่ได้ถ่ายทำไว้ มาบันทึกลงในฮาร์ดดิส
  5. การตัดต่อ เป็นการนำภาพที่ได้จากการแคปเชอร์มาเรียงร้อยต่อกันตามลำดับของบทโทรทัศน์
    7.  ใส่เอ็ฟเฟ็กต์/ตัดต่อใส่เสียง เมื่อได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงทำการใส่เอ็ฟเฟ็กต์ ภาพนิ่ง
    ข้อความ และเสียง เป็นต้น เพื่อให้งานวิดีโอเกิดความสมบูรณ์ สวยงาม น่าสนใจ
  6. แปลงวิดีโอ สามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็น VCD, DVD เพื่อนำไปใช้งานได้ตามต้องการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์กลุ่มอาชีพ "ผลิตภัณฑ์ ผ้ามัดย้อม และผลิตภัณฑ์ บ้านลอยเลิศ(ปลาดุกร้า)”  ผ่านช่องทาง : Facebook page ลิกอร์มีเดีย

- Link : https://drive.google.com/drive/folders/1lScvY7hirUoSHRUan9fPlz9wFCZluLxi?usp=sharing 2. เชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
7 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:57:59
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:00:23 น.

ชื่อกิจกรรม : ผลิตคลิปวีดีโอส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลังจากผ่อนคลายมาตรการโควิด -19 ในช่วงเปิดประเทศ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สัมภาษณ์เพื่อนำมาผลิตคลิปวีดีโอ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดระนอง จัดทำคลิปวีดีโอสรุปผลการประชุม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คลิปวีดีโอ ผ่านช่องทาง : Facebook Mui Boonsom

- Link : https://www.facebook.com/753509061/posts/10161967355199062/?d=n 2. สื่อสารสร้างการรับรู้ผ่านช่องทางออนไลน์ สถานีวิทยุ และเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
2 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:55:37
Project owner

ชื่อกิจกรรม : เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร รายการ ฟังเสียงประชาชน ประเด็น เปิดเมืองเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ชูการท่องเที่ยว

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. วางแผนเพื่อกำหนดเรื่องราว เนื้อหา ที่ต้องการจะนำเสนอในรายการ
  2. หาข้อมูล เตรียมเนื้อหา บุคคลที่จะเข้าร่วมรายการ แล้วนำมารวบรวม สังเคราะห์ จัดทำและเรียบเรียงเนื้อหา ให้เป็นโครงร่างรายการ
  3. จัดทำสคริปและบทที่จะใช้สัมภาษณ์ในรายการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. เกิดรายการวิทยุและสื่อสารโดยนำเสนอผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน  ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช 2. ขั้นตอนกระบวนการและการเตรียมความพร้อมเปิดจังหวัดเพื่อรับนักท่องเที่ยว ผลลัพธ์ 1. มาตรการร่วมทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อการเตรียมความพร้อม 2. จำนวนผู้ประกอบการและเงื่อนไขในการเข้าพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
1 พฤศจิกายน 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:53:30
Project owner

ชื่อกิจกรรม : เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร รายการ ฟังเสียงประชาชน ประเด็น เปิดเมืองเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. วางแผนเพื่อกำหนดเรื่องราว เนื้อหา ที่ต้องการจะนำเสนอในรายการ
  2. หาข้อมูล เตรียมเนื้อหา บุคคลที่จะเข้าร่วมรายการ แล้วนำมารวบรวม สังเคราะห์ จัดทำและเรียบเรียงเนื้อหา ให้เป็นโครงร่างรายการ
  3. จัดทำสคริปและบทที่จะใช้สัมภาษณ์ในรายการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. เกิดรายการวิทยุเพื่อการเข้าถึงในระดับชุมชน และสื่อสารโดยนำเสนอผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน  ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช 2. ให้เห็นถึงการทำงานด้านสื่อสารโดยผู้ว่าราชการจังหวัด สื่อสารผ่านเครือข่ายสื่อสร้างสุข ผลลัพธ์ 1. เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ติดตาม 2. มีการเฝ้าติดตามจากผู้ชมทั้งในและนอกพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
31 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:14:18
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:58:34 น.

ชื่อกิจกรรม : ผลิตคลิปวีดีโอเพื่อการสื่อสารสร้างสังคมสุขภาวะในช่วงเปิดประเทศ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

สัมภาษณ์เพื่อนำมาผลิตคลิปวีดีโอ การเปิดการท่องเที่ยวรับชาวต่างชาติของจังหวัดกระบี่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คลิปวีดีโอ ผ่านช่องทาง : Facebook Mui Boonsom

- Link : https://www.facebook.com/753509061/posts/10161957949164062/?d=n - Link : https://www.facebook.com/753509061/posts/10161960214279062/?d=n
- Link : https://www.facebook.com/753509061/posts/10161962767174062/?d=n 2. สื่อสารสร้างการรับรู้ในจังหวัดกระบี่และผ่านช่องทางสื่อออนไลน์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
31 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:43:40
Project owner

ชื่อกิจกรรม : เวทีสาธารณะ สร้างการรับรู้ไปการประชาสัมพันธ์สาธารณะ เพื่อการเปิดจังหวัดพังงา “เกาะปันหยี ผ่าทางตัน สู้โควิด “

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีสาธารณะ สร้างการรับรู้ไปการประชาสัมพันธ์สาธารณะ เพื่อการเปิดจังหวัดพังงา “เกาะปันหยี ผ่าทางตัน สู้โควิด “

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

“พังงา”  เป็นหนึ่งในจังหวัดนำร่องเพื่อเปิดการท่องเที่ยว ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 64 ถึงแม้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 จังหวัดพังงา ยังมีตัวเลขของผู้ติดเชื้ออยู่  แต่ก็อยู่ในท้ายตารางของภาคใต้ 14 จังหวัด  สำหรับเรื่องของการท่องเที่ยวนั้น จังหวัดพังงามีการขยับมาตั้งแต่เดือนมิถุนายน ที่ผ่านมา ได้หารือกับภาคเอกชน สถานประกอบการในพื้นที่มาตลอด ทางจังหวัด โดยนายจำเริญ ทิพญ์พงศ์ธาดา ผู้ว่าฯ ก็ได้ประสานส่วนกลางให้พังงาได้รับวัคซีนให้ได้มากที่สุด เป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ โดยใช้นโยบาย “สาธารณสุขนำเศรษฐกิจ” เน้นการควบคุมตามมาตรการ D M H T T A         “เกาะปันหยี”  เป็นรูทการท่องเที่ยว ต่อจากพื้นที่เกาะยาว และพื้นที่โคกกลอยไปถึงเขาหลัก ศักยภาพพื้นที่เกาะปันหยี มีความพร้อมแบ่งเป็น เรื่องความปลอดภัย  ประชากรบนเกาะปันหยีได้รับวัคซีน 74-75% แล้ว ความปลอดภัยของอาคารสถานที่ต่าง ๆ ที่ไม่ได้ใช้งานมาเกือบ 2 ปี ได้มีการซ่อมแซมพร้อมรับบริการ  พร้อมเรื่องความสะอาด ของสถานประกอบการ สถานที่ท่องเที่ยว ได้มีการทำความสะอาด เก็บขยะในทะเล ฉีดพ่นฆ่าเชื้อทางเดิน อาคารร้านค้า มัสยิด และสุดท้ายมีความสะดวกสบาย สร้างความประทับใจให้นักท่องเที่ยวได้
        เกาะปันหยี เป็นพื้นที่ “ โควิดฟรีโซน” ผู้ที่ทำงานในร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก คนขับเรือ ต้องได้รับการตรวจATK ทุก 7 วัน อสม.และผู้ปฏิบัติหน้าที่ด่านหน้าต้องได้รับการตรวจ ATK ทุก 7 วัน ผู้ประกอบการ ต้องประเมินความเสี่ยงของพนักงาน โดยสุ่มตรวจ ATK คัดออกมาไม่ต่ำกว่า 10 % มาตรวจทุก 7 วัน พนักงานอาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงหรือไม่ หรืออยู่ในพื้นที่ระบาดหรือไม่ พบปะพูดคุยหรือสัมผัสนักท่องเที่ยวมากหรือไม่
        สำหรับแผนเผชิญเหตุระดับจังหวัด กรณีมีนักท่องเที่ยวติดเชื้อหรือเกิดการแพร่ระบาด พังงามีHospitel ในพื้นที่เขาหลัก และเกาะยาว นอกจากนี้ยังมีLQกลาง ที่รร.พังงาเบย์         กรณีมีการติดเชื้อส่วนของชาวบ้าน เรามีโรงพยาบาล โรงพยาบาลสนาม มีCI และ HI ในระดับชุมชน เพราะพื้นที่ต้องอยู่ร่วมกันได้  ให้มีการคอนโทรลพื้นที่โดยศูนย์อำเภอ ให้ผอ.รพ.สต.รับรายงานตัวได้ ต้องยอมรับความเสี่ยง ถ้าเกิดการติดได้ต้องควบคุมได้ ถ้าควบคุมไม่ได้ ก็ต้องเข้าสู่กระบวนการ “ชะลอ” รับนักท่องเที่ยว และให้พื้นที่ทบทวนมาตรการเหมือนกับจังหวัดในทุก 15 วัน ถ้าสถานการณ์ดีขึ้น มาตรการก็จะผ่อนคลายมากขึ้น         ในส่วนของมัสยิดเกาะปันหยี อนุญาตให้มีการละหมาดวันศุกร์ร่วมกันเฉพาะคนพื้นที่เกาะปันหยีเท่านั้น ส่วนนักท่องเที่ยว ถ้าต้องการละหมาดวันศุกร์ ให้ละหมาดในเวลาอื่น หรือจัดสถานที่เฉพาะไว้ และแยกส่วนจากคนพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
31 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:47:48
Project owner

ชื่อกิจกรรม : เวทีเสวนาออนไลน์หุ้นส่วนสุขภาพร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัย ในวิกฤต COVID-19

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

เป็นเวทีเสวนาออนไลน์หุ้นส่วนสุขภาพ ร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัย ในวิกฤต COVID-19 เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ ร่วมกับ คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 11

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีพื้นที่ที่ขับเคลื่อนประเด็นในการร่วมสร้างพื้นที่ปลอดภัย ในประเด็น อาหาร สุขภาพ และกลไกร่วมในการดำเนินงาน
  2. เป็นแนวทางเพื่อออกแบบการสื่อสารเพื่อการรับรู้และการเข้าถึงเพื่อให้เห็นการทำงานของคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน
  3. เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ เป็นพื้นที่กลางกับการทำหน้าที่สื่อสารสาธารณะ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
29 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:28:09
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:28:22 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร รายการ ฟังเสียงประชาชน ประเด็น เปิดเมือง สื่อ เตรียมความพร้อมอย่างไร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. วางแผนเพื่อกำหนดเรื่องราว เนื้อหา ที่ต้องการจะนำเสนอในรายการ
  2. หาข้อมูล เตรียมเนื้อหา บุคคลที่จะเข้าร่วมรายการ แล้วนำมารวบรวม สังเคราะห์ จัดทำและเรียบเรียงเนื้อหา ให้เป็นโครงร่างรายการ
  3. จัดทำสคริปและบทที่จะใช้สัมภาษณ์ในรายการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. เกิดรายการวิทยุและการสื่อสารโดยนำเสนอผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช 2. รายงานผลการทำงานสื่อสารในประเด็น เฝ้าระวังกับผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา 3. สื่อประชาสัมพันธ์ poster ผ่านช่องทาง : Facebook pageสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช ผลลัพธ์ 1. ความเชื่อมั่นของผู้ติดตาม 2. แก้ปัญหาข่าวลวงข่าวปลอม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
27 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยSubaida madsamanSubaida madsamanเมื่อ 4 มกราคม 2565 13:53:03
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 20 มกราคม 2565 10:47:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่เพื่อจัดทำเฟสบุ๊คไลฟ์ เรื่องสวนยางยั่งยืน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประสานงานนัดแนะเครือข่าย ชี้แจงเนื้อหารายละเอียดกิจกรรมในการถ่ายทอดสด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนยางพารา ทำสวนยางพาราในรูปแบบเกษตรผสมผสาน(ตามแบบ3) ของการยางแห่งประเทศไทย เพื่อเพิ่มพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในสวนยาง ความหลากหลายทางชีวภาพ บนฐานทรัพยากรตามบริบทของแต่ละพื้นที่ และการสนับสนุนจากภาครัฐและองค์ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยมีก็รณีศึกษาพื้นที่ต้นแบบจากเกษตรกรในภาคใต้ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางในรูปแบบเครือข่ายการจัดการสวนยางอย่างยั่งยืนให้เป็นรูปธรรมการปรับโครงสร้างระบบเกษตรของประเทศสู่เกษตรกรรมยั่งยืนอย่างน้อยร้อยละ 20 ของประเทศ เพื่อก้าวสู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติครั้งที่ 12 การติดตามสถานการณ์และกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนสวนยางยั่งยืนประจำปี  สถานการณ์วิกฤติจากสภาวะโลกร้อนวิกฤตการระบาดเชื้อไวรัส โควิด-19 ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตชาวสวนยางที่เป็นภัยคุกคามต่อเนื่อง  การแลกเปลี่ยนบทเรียนองค์ความรู้พัฒนายุทธศาสตร์และข้อเสนอเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนสวนยางยั่ง  ความมั่นคงทางอาหารและสุขภาพวะชาวสวนยาง เพื่อสรุปเป็นเอกสารและสื่อวีดีทัศน์เกี่ยวกับสถานการณ์บทเรียนองค์ความรู้และข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการในการส่งเสริมสนับสนุนชาวสวนยางยั่งยืน และข้อเสนอมาตรการนำร่องในพื้นที่ปฏิบัติการและกลไกขับเคลื่อนพื้นที่นำร่องสวนยางยั่งยืนในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
  2. Live สด : ผ่านช่องทาง Facebook page สมาคมประชาสังคมชุมพร

- Link : https://fb.watch/9ofBzJI3SL/ มีผู้รับชม  760  ผู้เข้าถึง 2810

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
27 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:25:09
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 17:03:58 น.

ชื่อกิจกรรม : ผลิตคลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว "ฟ้าสางที่ยางค้อม"

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. การวางแผน เป็นการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เรื่องราวที่จะถ่ายทำ วัตถุประสงค์ และระยะเวลา ของเรื่อง
  2. เขียนบทโทรทัศน์ (Script) โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการเปลี่ยนข้อความเป็นภาพและเสียง กำหนดมุมกล้อง เวลาที่ใช้ในแต่ละช็อต
  3. องค์ประกอบต่างๆ ที่ต้องใช้ในการถ่ายทำ เช่น อุปกรณ์ในการถ่ายทำ อุปกรณ์ประกอบฉาก สถานที่ในการถ่ายทำ นักแสดง
  4. การถ่ายทำ เป็นการบันทึกภาพตามบทโทรทัศน์
  5. แคปเจอร์ (Capture) เป็นการนำวีดีโอที่ได้ถ่ายทำไว้ มาบันทึกลงในฮาร์ดดิส
  6. การตัดต่อ เป็นการนำภาพที่ได้จากการแคปเชอร์มาเรียงร้อยต่อกันตามลำดับของบทโทรทัศน์
  7. ใส่เอ็ฟเฟ็กต์/ตัดต่อใส่เสียง เมื่อได้ภาพตามต้องการแล้ว จึงทำการใส่เอ็ฟเฟ็กต์ ภาพนิ่ง
    ข้อความ และเสียง เป็นต้น เพื่อให้งานวิดีโอเกิดความสมบูรณ์ สวยงาม น่าสนใจ
  8. แปลงวิดีโอ สามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็น VCD, DVD เพื่อนำไปใช้งานได้ตามต้องการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. สื่อประชาสัมพันธ์(คลิปวีดีโอ) ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช และ ลิกอร์มีเดีย - Link : https://drive.google.com/drive/folders/1lScvY7hirUoSHRUan9fPlz9wFCZluLxi?usp=sharing 2. คลิปวีดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว "ฟ้าสางที่ยางค้อม" ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช และ ลิกอร์มีเดีย - Link : https://drive.google.com/file/d/1wk__wKFTBNUQ8BvFYw3k47eL_2I48K5f/view?usp=sharing ผลลัพธ์ 1. พัฒนาต่อยอดร่วมกับโครงการหนึ่งมหาวิทยาลัย 1 ตำบล 2. เชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
22 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:18:58
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:19:14 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ เพื่อหารือเกี่ยวกับการดำเนินงานแผนงานสื่อ

คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

ประชุมเครือข่ายสื่อสร้างสุขและทีมสื่อทีมกลางประชุมเพื่อร่วมหารือเกี่ยวกับการดำเนินงานแผนงานสื่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การสิ้นสุดโครงการในเดือน พฤศจิกายน 2564 ซึ่งการขับเคลื่อนงานสื่อสารสาธารณะ ที่ได้แบ่งพื้นที่การดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับ ประเด็นนโยบายสร้างสุขภาคใต้ เนื่องจากที่ผ่านมานั้นอาจจะเจอปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 2019 การดำเนินงานทางด้านการสื่อสารอาจจะไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่และบางประเด็นก็ไม่ได้ขับเคลื่อนงานได้เต็มที่ ดังนั้นงานสื่อสารของเครือข่ายสื่อก็ นำประเด็นข้อเสนอเชิงนโยบาย จากงานสร้างสุขเพื่อการติดตามข้อเสนอและการสนับสนุนประเด็นเนื้อหาเพื่อการสื่อสารที่โซนรับผิดชอบอยู่
  2. ในส่วนที่มีการโอนงบประมาณในระยะที่ผ่านมาจำนวน 20,000 บาท ในแต่ละโซนพื้นที่ซึ่งได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดสงขลา เพื่อให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานและให้เห็นถึงผลผลิต ผลลัพธ์ จากงานสื่อสาร ให้ทุกโซนพื้นที่ ดำเนินการเคลียร์เอกสารการเงินและผลงานที่ดำเนินงานให้แล้วเสร็จ ในเดือนตุลาคม เพื่อทางทีมกลางจะรวบรวมและรายงานให้กับ สนส.ต่อไป
  3. หารือการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม จังหวัดละ 10,000 บาท เพื่อการผลิตหรือการติดตามนโยบายในพื้นที่ของตนเอง เน้นพื้นที่จัดกิจกรรมตามสถานการณ์ของ จังหวัดตัวเอง ข้อเสนอเชิงนโยบาย/จัดเวทีย่อย ซึ่งมีพื้นที่ จังหวัดกระบี่ กับ จังหวัดพังงา รับไปดำเนินการเพิ่มเติม
  4. หารือเรื่องการถอดบทเรียนการขับเคลื่อนงาน การดำเนินงาน เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ เพื่อให้เห็นถึงบทเรียน ข้อดี ข้อด้วย และชุดความรู้เพื่อการพัฒนาต่อ ได้ออกแบบการวางรูปแบบการจัด สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย และเนื้อหาที่จะนำเสนอในที่เวที
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
21 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 15:59:52
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:29:30 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร รายการ ฟังเสียงประชาชน ประเด็น "ผู้ว่าเมืองคอน" ไฟเขียวแพทย์แผนไทย ทำได้แค่ไหน

  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. วางแผนเพื่อกำหนดเรื่องราว เนื้อหา ที่ต้องการจะนำเสนอในรายการ
  2. หาข้อมูล เตรียมเนื้อหา บุคคลที่จะเข้าร่วมรายการ แล้วนำมารวบรวม สังเคราะห์ จัดทำและเรียบเรียงเนื้อหา ให้เป็นโครงร่างรายการ
  3. จัดทำสคริปและบทที่จะใช้สัมภาษณ์ในรายการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.เกิดรายการวิทยุโดยนำเสนอผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช 2. คำสั่งโดยผู้ว่าราชการจังหวัดได้นำมาสื่อสาร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน 3. สื่อประชาสัมพันธ์ poster ผ่านช่องทาง : Facebook pageสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช ผลลัพธ์ 1. คำสั่งถูกนำไปปฏิบัติใช้ หลังจากมีการสื่อสาร 2. การผลิตตำรับยาโดยแพทย์แผนไทย มีความต้องการเพิ่มมากขึ้น 3. การปลูกพืชสมุนไพรเป็นที่ต้องการจำนวนเพิ่มขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
20 ตุลาคม 2564
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยวิลาสลักษณ์  แก้วบุญเรืองวิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรืองเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2565 16:09:19
Project owner
แก้ไขโดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2565 09:52:20 น.

ชื่อกิจกรรม : เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร รายการ ฟังเสียงประชาชน ประเด็น บทบาท สื่อ ชุมชนในท่ามกลางวิกฤติโควิด-19

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
คุณภาพกิจกรรม : ()
วัตถุประสงค์

 

กิจกรรมตามแผน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้

 

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 0 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

 

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง

  1. วางแผนเพื่อกำหนดเรื่องราว เนื้อหา ที่ต้องการจะนำเสนอในรายการ
  2. หาข้อมูล เตรียมเนื้อหา บุคคลที่จะเข้าร่วมรายการ แล้วนำมารวบรวม สังเคราะห์ จัดทำและเรียบเรียงเนื้อหา ให้เป็นโครงร่างรายการ
  3. จัดทำสคริปและบทที่จะใช้สัมภาษณ์ในรายการ
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง / ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. เกิดรายการวิทยุ และรายการทางสื่อออนไลน์ โดยนำเสนอผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน ผ่านช่องทาง : Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช 2. มิติการทำงานด้านสื่อสารในสถานการณ์โควิดในบริบทของแต่ละพื้นที่ 3. สื่อประชาสัมพันธ์ poster ผ่านช่องทาง : Facebook pageสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช ผลลัพธ์ 1. การเชื่อมโดยพื้นที่การสื่อสารระหว่างภาครัฐและภาคสังคม เป็นการรับรู้ข้อมูลที่กว้างและคลอบคลุมมากขึ้น 2. เห็นความเหมือนความต่าง และการปฏิบัติงานของสื่อแต่ละพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส. ม.อ.

 

คำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ติดตามในพื้นที่

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.